แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
GES : มิติภายในด้านการพัฒนาองค์การ
Advertisements

การติดตามและประเมินผล ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
เพื่อทบทวนระบบและกลไกในการประกันคุณภาพการศึกษา
วันพุธที่ 21 มีนาคม 2555 เวลา น. ณ ตึกสันติไมตรี ทำเนียบรัฐบาล
ประเด็นคำถามในการประชุมชี้แจงกรอบการประเมินผลส่วนราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันที่ 9 มกราคม 2557.
โครงการฝึกอบรม การบริหารทรัพยากรบุคคล เชิงยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดอุดรธานี วันที่ ๑๙ มีนาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมต้นคูณ อำเภอเมืองอุดรธานี
แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ พ.ศ นำไปสู่การปฏิบัติ
รายงานและการประเมินผล การปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ ของหน่วยงาน
คำอธิบาย ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร
ตัวชี้วัดที่ 2 ร้อยละความสำเร็จ ของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
คำรับรองการปฏิบัติราชการ
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดลงสู่ระดับสำนัก/กอง และระดับบุคคล
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
ขอต้อนรับคณะผู้ตรวจประเมินฯ
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
การติดตามประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ (Site Visit II) รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2551 ณ ห้องประชุมลำพอง 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
การติดตามประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ (Site Visit II) รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 23 ธันวาคม 2551 ณ ห้องประชุมศาลาชื่นอารมณ์
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
การประชุมชี้แจง (ร่าง)กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันพฤหัสบดีที่ 10 เมษายน 2557 เวลา น. ณ ห้องประชุม.
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ผลการปฏิบัติราชการตามคำ รับรอง การปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การวิเคราะห์งานวิจัย เรื่อง การพัฒนารูปแบบการประเมินประสิทธิผลองค์การภาครัฐเกี่ยวกับการศึกษาอาชีพนอกระบบโรงเรียน จัดทำโดย นายพิสณุ ฟองศรี หลักสูตรปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต.
หมวด2 9 คำถาม.
1. การดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ/คณะทำงาน
1 ก.พ.2550 ห้องประชุมดาวเรือง
สถานการณ์การพัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ปีงบประมาณ พ.ศ
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
บก.วน. ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ 2551 รวม 4 มิติ มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ.
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
การประชุมคณะกรรมการ และคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554
2 ผลการดำเนินงาน รอบ 9 เดือน ตัวชี้วัด / ข้อมูลพื้นฐาน ประกอบ ตัวชี้วัด น้ำหนั ก ( ร้อย ละ ) ผลการ ดำเนินงา น ค่า คะแนน ที่ได้ ค่า คะแนน ถ่วง น้ำหนัก.
Sharing Items Module 1 : การจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์
แนวทางการจัดทำมาตรฐานความโปร่งใสของกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2557
สิ่งที่หน่วยงานต้องดำเนินการ  ศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับกรอบ การประเมินผล ชี้แจงทำความเข้าใจและ มอบหมายงานให้ผู้ที่ เกี่ยวข้องรับผิดชอบ ดำเนินการ  จัดทำคำรับรองระดับหน่วยงาน.
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554 (ครั้งที่ 1)
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2553 วันพฤหัสบดีที่ 28 มกราคม 2553 เวลา น. ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน.
วัตถุประสงค์ของการประชุมครั้งนี้
การประชุมสัมมนา “การประเมินผลองค์การมหาชนตามคำรับรองการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554” 29 กรกฎาคม 2553.
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
กรอบการประเมินผลของส่วนราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555
การบริหารความเสี่ยง (Risk Management)
ตัวชี้วัด ปี 2548 คำรับรองการปฏิบัติราชการ มิติ 1 ประสิทธิผล
กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของกรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557
โครงการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร (Enterprise Risk Management : ERM) สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
คำรับรองการปฏิบัติ ราชการ กรมอนามัย ปี 2549 จำนวน 20 ตัวชี้วัด.
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
Strategy Map สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร ปีงบประมาณ พ.ศ.2553
Strategy Map สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 4 จังหวัดขอนแก่น ปีงบประมาณ พ.ศ ร้อยละหรือระดับความสำเร็จของการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรมตามแผนงานโครงการปี
การบริหารองค์ความรู้ ครั้งที่ 1/2552
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การประชุมคณะกรรมการอำนวยการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) กรมอนามัย ครั้งที่ 1 วันที่ 22 ธันวาคม 2552.
ยุทธศาสตร์ที่ 6 การพัฒนาคุณภาพระบบบริหารจัดการองค์กรและบุคลากร ให้มีขีดสมรรถนะสูงได้มาตรฐานสากล การดำเนินการพัฒนาคุณภาพระบบบริหารจัดการองค์กร เป็นการนำเกณฑ์
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ สำนักนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
มีอำนาจหน้าที่ตามกฎกระทรวง
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การพัฒนา องค์การ ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ เพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน ตามคำรับรอง การปฏิบัติ ราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.
การประชุมส่วนงานทส. หมวด 4 การประชุมส่วนงานทส. หมวด 4 (IT 6 แผนพัฒนาระบบบริหารความเสี่ยงของระบบ ข้อมูลและสารสนเทศ ) ครั้งที่ 1/2554 วันจันทร์ที่ 28 กุมภาพันธ์
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ตัวชี้วัดคุณภาพการให้บริการประชาชน
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ (Thailand Public Service Awards)
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 การเสริมสร้าง สมรรถนะองค์กรให้มีประสิทธิภาพสูง อำนาจหน้าที่ 1. ตรวจราชการ ประสานงาน เร่งรัด ติดตาม ตรวจสอบ และ ประเมินผลการปฏิบัติราชการ.
ระดับกระทรวง / กรม เป้าหมายการให้บริการระดับกระทรวง (PSAM) เป้าหมายการให้บริการระดับกรม (PSA) ระดับหน่วยงาน ตัวชี้วัดผลผลิตตามเอกสาร สงป. (SDA) ตัวชี้วัดคำรับรองกรมฯ.
วิทยาลัยป้องกันและบรรเทาสา ธารณภัย ประเด็นยุทธศาสตร์กรมฯยุทธศาสตร์ วปภ. ประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การยกระดับขีด ความสามารถในการบริหารจัดการด้านการ.
พระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวก ในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553

กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ ในสังกัดกระทรวงนำร่อง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มิติด้านประสิทธิผล มิติด้านประสิทธิผล มิติด้านคุณภาพการให้บริการ มิติด้านคุณภาพการให้บริการ มิติด้านประสิทธิภาพ มิติด้านประสิทธิภาพ มิติด้านการพัฒนาองค์การ มิติด้านการพัฒนาองค์การ A+30% การเบิกจ่าย งบประมาณ การควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ B+3% C+5% 20% ความพึงพอใจของผู้กำหนดนโยบาย มิติที่ 1 มิติที่2 มิติที่ 3 มิติที่ 4 ความสำเร็จตามแผน ปฏิบัติราชการของกรม/ เอกสารงบประมาณรายจ่าย A การบรรลุเป้าหมายของตัวชี้วัด ที่สอดคล้องกับภารกิจ ยุทธศาสตร์ ที่เน้นถึงคุณภาพการให้บริการ B การบรรลุเป้าหมายตัวชี้วัดที่สอดคล้อง กับภารกิจหลัก ยุทธศาสตร์ที่เน้นถึง ประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ C การบรรลุแผนพัฒนาองค์กร+หมวด7 ความสำเร็จตามแผนปฏิบัติ ราชการของกระทรวง ความสำเร็จในการขับเคลื่อน นโยบายสำคัญ/พิเศษของรัฐบาล ความสำเร็จตาม แผนปฏิบัติราชการ ของกลุ่มภารกิจ ความสำเร็จตามแผนปฏิบัติ ราชการร่วมระหว่างกระทรวง การพัฒนา ศูนย์บริการร่วม

รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 4 ความพึงพอใจของผู้กำหนดนโยบาย ผู้กำหนดนโยบาย หมายถึงหน่วยงาน บุคคล หรือคณะบุคคลที่ ตั้งขึ้นโดยกฎหมาย ซึ่งกำหนดนโยบายให้แก่ส่วนราชการ เช่น รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการ/รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง ที่ส่วนราชการสังกัด คณะรัฐมนตรี สภาความมั่นคงแห่งชาติ พิจารณาจากผลสำรวจความพึงพอใจของผู้กำหนดนโยบายแก่ ส่วนราชการ โดยสำนักงาน ก.พ.ร. คำอธิบาย ประเด็นการสำรวจ ประกอบด้วย (1) ความพึงพอใจ ด้านความเข้าใจต่อนโยบายที่มอบหมาย (2) ความพึงพอใจ ด้านการนำนโยบายไปปฏิบัติ (3) ความพึงพอใจ ด้านการติดตามและนำเสนอผลให้ทราบ เกณฑ์การให้คะแนน ระดับ1ระดับ2ระดับ3ระดับ4ระดับ

รายละเอียดตัวชี้วัด : ร้อยละของอัตราการเบิกจ่าย รายละเอียดตัวชี้วัด : ร้อยละของอัตราการเบิกจ่าย 1. ร้อยละของอัตราการเบิกจ่ายงบประมาณ รายจ่ายลงทุน 2. ร้อยละของอัตราการเบิกจ่ายงบประมาณ รายจ่ายในภาพรวม 3. ร้อยละของอัตราการเบิกจ่ายเงินกู้ตามแผน ฟื้นฟูเศรษฐกิจระยะที่ 2

รายละเอียดตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จของการพัฒนา คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) ความแตกต่างจากปี ตัวชี้วัดผลผลัพธ์ของหมวดที่ดำเนินการ ส่วนราชการจะเลือกตัวชี้วัดที่สำนักงาน ก.พ.ร.กำหนดให้แทนการที่ส่วนราชการเลือกตัวชี้วัดเอง เนื่องจากเพื่อให้เกิด ความเป็นมาตรฐานในการวัดความสำเร็จ และสามารถสะท้อนผลการดำเนินงาน ของหมวดนั้นๆ ได้อย่างแท้จริง รวมทั้งสามารถผลักดันการยกระดับคุณภาพการ บริหารจัดการภาครัฐในภาพรวมได้อย่างชัดเจน แต่อย่างไรก็ตาม ยังเปิดโอกาส สำหรับส่วนราชการที่จะกำหนดตัวชี้วัดเพิ่มเติมได้เอง เพื่อความสอดคล้องกับ ภารกิจบางประเภทที่มีลักษณะเฉพาะ และส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรม 2. ให้ความสำคัญกับการดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ.2552 เพื่อเป็นการผลักดัน ให้ดำเนินการผ่านเกณฑ์ฯ ได้อย่างครบถ้วน โดยกำหนดน้ำหนักเพื่อการ “ซ่อม” ซึ่งหมายถึงค่าน้ำหนักคะแนนนี้จะใช้ตรวจประเมินในหมวดที่ดำเนินการไปแล้ว หากส่วนราชการใดไม่ผ่านเกณฑ์ในหมวดนั้นๆ ก็จะต้องดำเนินการให้ผ่านเกณฑ์ ดังกล่าว สำหรับส่วนราชการที่ผ่านเกณฑ์อย่างครบถ้วนแล้วจะได้ค่าคะแนนนี้ โดยปริยาย

ปฏิทินการดำเนินงานของกระทรวงนำร่อง ปีงบประมาณ 2553 ระยะเวลากิจกรรม 13 ส.ค.52สำนักงาน ก.พ.ร.ประชุมชี้แจง ก.ย.52จัดทำกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราฃการภายในกระทรวง แล้วเสร็จ และแจ้งให้กรมในสังกัดและสำนักงาน ก.พ.ร.ทราบ ต.ค.52กระทรวงจัดส่งคำรับรองฯของส่วนราชการในสังกัดที่ลงนามแล้ว พร้อมเอกสารประกอบ ให้สำนักงาน ก.พ.ร. ม.ค.53กระทรวงจัดส่งเอกสารสรุปผลการพิจารณาคำขอเปลี่ยนแปลง รายละเอียดตัวชี้วัดของส่วนราชการที่ขอให้พิจารณาให้ ก.พ.ร. มี.ค.53สิ้นสุดระยะเวลาการรับเรื่องขอเปลี่ยนแปลงรายละเอียดตัวชี้วัด เม.ย.53ส่งรายงานการประเมินตนเอง รอบ 6 เดือน และ e-SAR Card พ.ค.53สำนักงาน ก.พ.ร.ร่วมกับคณะกรรมการ Site Visit มิ.ย.53รายงานการประเมินตนเอง รอบ 9 เดือนผ่าน e-SAR Card ต.ค.53ส่งรายงานการประเมินตนเอง รอบ 12 เดือน และ e-SAR Card สำนักงาน ก.พ.ร.ร่วมกับคณะกรรมการ Site Visit