แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553
กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ ในสังกัดกระทรวงนำร่อง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มิติด้านประสิทธิผล มิติด้านประสิทธิผล มิติด้านคุณภาพการให้บริการ มิติด้านคุณภาพการให้บริการ มิติด้านประสิทธิภาพ มิติด้านประสิทธิภาพ มิติด้านการพัฒนาองค์การ มิติด้านการพัฒนาองค์การ A+30% การเบิกจ่าย งบประมาณ การควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ B+3% C+5% 20% ความพึงพอใจของผู้กำหนดนโยบาย มิติที่ 1 มิติที่2 มิติที่ 3 มิติที่ 4 ความสำเร็จตามแผน ปฏิบัติราชการของกรม/ เอกสารงบประมาณรายจ่าย A การบรรลุเป้าหมายของตัวชี้วัด ที่สอดคล้องกับภารกิจ ยุทธศาสตร์ ที่เน้นถึงคุณภาพการให้บริการ B การบรรลุเป้าหมายตัวชี้วัดที่สอดคล้อง กับภารกิจหลัก ยุทธศาสตร์ที่เน้นถึง ประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ C การบรรลุแผนพัฒนาองค์กร+หมวด7 ความสำเร็จตามแผนปฏิบัติ ราชการของกระทรวง ความสำเร็จในการขับเคลื่อน นโยบายสำคัญ/พิเศษของรัฐบาล ความสำเร็จตาม แผนปฏิบัติราชการ ของกลุ่มภารกิจ ความสำเร็จตามแผนปฏิบัติ ราชการร่วมระหว่างกระทรวง การพัฒนา ศูนย์บริการร่วม
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 4 ความพึงพอใจของผู้กำหนดนโยบาย ผู้กำหนดนโยบาย หมายถึงหน่วยงาน บุคคล หรือคณะบุคคลที่ ตั้งขึ้นโดยกฎหมาย ซึ่งกำหนดนโยบายให้แก่ส่วนราชการ เช่น รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการ/รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง ที่ส่วนราชการสังกัด คณะรัฐมนตรี สภาความมั่นคงแห่งชาติ พิจารณาจากผลสำรวจความพึงพอใจของผู้กำหนดนโยบายแก่ ส่วนราชการ โดยสำนักงาน ก.พ.ร. คำอธิบาย ประเด็นการสำรวจ ประกอบด้วย (1) ความพึงพอใจ ด้านความเข้าใจต่อนโยบายที่มอบหมาย (2) ความพึงพอใจ ด้านการนำนโยบายไปปฏิบัติ (3) ความพึงพอใจ ด้านการติดตามและนำเสนอผลให้ทราบ เกณฑ์การให้คะแนน ระดับ1ระดับ2ระดับ3ระดับ4ระดับ
รายละเอียดตัวชี้วัด : ร้อยละของอัตราการเบิกจ่าย รายละเอียดตัวชี้วัด : ร้อยละของอัตราการเบิกจ่าย 1. ร้อยละของอัตราการเบิกจ่ายงบประมาณ รายจ่ายลงทุน 2. ร้อยละของอัตราการเบิกจ่ายงบประมาณ รายจ่ายในภาพรวม 3. ร้อยละของอัตราการเบิกจ่ายเงินกู้ตามแผน ฟื้นฟูเศรษฐกิจระยะที่ 2
รายละเอียดตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จของการพัฒนา คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) ความแตกต่างจากปี ตัวชี้วัดผลผลัพธ์ของหมวดที่ดำเนินการ ส่วนราชการจะเลือกตัวชี้วัดที่สำนักงาน ก.พ.ร.กำหนดให้แทนการที่ส่วนราชการเลือกตัวชี้วัดเอง เนื่องจากเพื่อให้เกิด ความเป็นมาตรฐานในการวัดความสำเร็จ และสามารถสะท้อนผลการดำเนินงาน ของหมวดนั้นๆ ได้อย่างแท้จริง รวมทั้งสามารถผลักดันการยกระดับคุณภาพการ บริหารจัดการภาครัฐในภาพรวมได้อย่างชัดเจน แต่อย่างไรก็ตาม ยังเปิดโอกาส สำหรับส่วนราชการที่จะกำหนดตัวชี้วัดเพิ่มเติมได้เอง เพื่อความสอดคล้องกับ ภารกิจบางประเภทที่มีลักษณะเฉพาะ และส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรม 2. ให้ความสำคัญกับการดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ.2552 เพื่อเป็นการผลักดัน ให้ดำเนินการผ่านเกณฑ์ฯ ได้อย่างครบถ้วน โดยกำหนดน้ำหนักเพื่อการ “ซ่อม” ซึ่งหมายถึงค่าน้ำหนักคะแนนนี้จะใช้ตรวจประเมินในหมวดที่ดำเนินการไปแล้ว หากส่วนราชการใดไม่ผ่านเกณฑ์ในหมวดนั้นๆ ก็จะต้องดำเนินการให้ผ่านเกณฑ์ ดังกล่าว สำหรับส่วนราชการที่ผ่านเกณฑ์อย่างครบถ้วนแล้วจะได้ค่าคะแนนนี้ โดยปริยาย
ปฏิทินการดำเนินงานของกระทรวงนำร่อง ปีงบประมาณ 2553 ระยะเวลากิจกรรม 13 ส.ค.52สำนักงาน ก.พ.ร.ประชุมชี้แจง ก.ย.52จัดทำกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราฃการภายในกระทรวง แล้วเสร็จ และแจ้งให้กรมในสังกัดและสำนักงาน ก.พ.ร.ทราบ ต.ค.52กระทรวงจัดส่งคำรับรองฯของส่วนราชการในสังกัดที่ลงนามแล้ว พร้อมเอกสารประกอบ ให้สำนักงาน ก.พ.ร. ม.ค.53กระทรวงจัดส่งเอกสารสรุปผลการพิจารณาคำขอเปลี่ยนแปลง รายละเอียดตัวชี้วัดของส่วนราชการที่ขอให้พิจารณาให้ ก.พ.ร. มี.ค.53สิ้นสุดระยะเวลาการรับเรื่องขอเปลี่ยนแปลงรายละเอียดตัวชี้วัด เม.ย.53ส่งรายงานการประเมินตนเอง รอบ 6 เดือน และ e-SAR Card พ.ค.53สำนักงาน ก.พ.ร.ร่วมกับคณะกรรมการ Site Visit มิ.ย.53รายงานการประเมินตนเอง รอบ 9 เดือนผ่าน e-SAR Card ต.ค.53ส่งรายงานการประเมินตนเอง รอบ 12 เดือน และ e-SAR Card สำนักงาน ก.พ.ร.ร่วมกับคณะกรรมการ Site Visit