ทิศทางการพัฒนาระบบราชการไทย โดย นายอาวุธ วรรณวงศ์ รองเลขาธิการ ก.พ.ร.
ร่างกรอบประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย ในระยะต่อไป (พ. ศ ร่างกรอบประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย ในระยะต่อไป (พ.ศ. 2551-2555) ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาคุณภาพการให้บริการและการทำงานเพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชน ยุทธศาสตร์ที่ 2 ปรับปรุงรูปแบบให้ทำงานเชิงบูรณาการ แสวงหาความร่วมมือทุกภาคส่วน ยุทธศาสตร์ที่ 4 เสริมสร้างจริยธรรมและธรรมาภิบาลในการบริหารกิจการบ้านเมือง ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยกขีดระดับความสามารถและผลิตภาพของภาครัฐ
Rethink & Re Do Global Environment 1 Structure 2 Process 3 Culture 4 Communication (Info) 5 Human Resource PEOPLE (CUSTOMER) Global Environment
Management Paradigm Shift Fragmentation Integration Subjective Objective Process Result Bureaucracy Customer Centered
Value Chain (Michael Porter) Firm Infrastructure Margin Human Resource Management Support Activities Technology Development Procurement Margin Inbound Logistics Operations Outbound Logistics Marketing and Sales Services Primary Activities
องค์กรลักษณะพิเศษ (Mr. ….) เพื่อเป็นเจ้าภาพในการสร้างคุณค่า (value creation) ให้แก่ผลิตภัณฑ์หรือบริการที่มีความสำคัญและเป็นวาระสำคัญของประเทศ มีลักษณะการบริหารงานเป็นอิสระและคล่องตัวที่แตกต่างไปจากระบบราชการตามปกติ โดยทำหน้าที่เป็นผู้ซื้อบริการ (purchaser) จากหน่วยงานราชการหรือผู้ให้บริการอื่นๆ (service provider) เพื่อผลักดันให้เกิดผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมายที่กำหนด เป็นองค์กรที่มีขนาดกระชับ รายงานขึ้นตรงต่อรัฐมนตรี สามารถจัดตั้ง เปลี่ยนแปลง และยุบเลิกได้ง่าย Boston model Market share High Low High Market growth rate Low
Transformation Process แผนการปรับเปลี่ยน Value creation H Transformation Process Organizational M Transition Plan L 1 2 3 4 5 6 Time
H L H H L L L H การวิเคราะห์ภารกิจ (Portfolio Analysis) H L H Importance H H L H H L L L H L H Performance
การสำรวจการจ่ายค่าตอบแทน ภาพรวมโครงสร้างของโครงการปรับปรุงระบบจำแนกตำแหน่งและค่าตอบแทน คนที่มีคุณภาพ และทักษะที่ต้องการ งานที่เหมาะสม ค่าตอบแทนที่เป็นธรรม ปรัชญาการจ่าย ค่าตอบแทน การสรุปลักษณะงาน การจัดกลุ่มงาน Competency Model การบริหารเส้นทาง ก้าวหน้าสายอาชีพ และผู้มีศักยภาพสูง การสำรวจการจ่ายค่าตอบแทน ในตลาด การประเมิน ค่างาน โครงสร้างเงินเดือน ที่แปรผัน ตามผลงาน การกำหนด ระดับงาน
หมวด 1 การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (ม. 6) หมวด 1 การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (ม. 6) เกิดประโยชน์สุข ของประชาชน ผลสัมฤทธิ์ต่อ ภารกิจของรัฐ ประเมินผลการปฏิบัติ ราชการอย่างสม่ำเสมอ การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ประชาชนได้รับ ความสะดวก ตอบสนองความต้องการ มีประสิทธิภาพ และเกิดความคุ้มค่า ในเชิงภารกิจของรัฐ ปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการ ให้ทันต่อสถานการณ์ ไม่มีขั้นตอนการปฏิบัติงาน เกินความจำเป็น