บนเส้นทางพัฒนานักศึกษา มหาวิทยาลัยคริสเตียน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเรียนรู้ ในศตวรรษที่ ๒๑
Advertisements

ทำไมต้องอบรม ? การสร้างเครือข่ายสังคมแห่งการเรียนรู้(Social Network)
รู้จัก TQF และแบบมคอ. จัดโดย งานการศึกษาคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
แนวคิด ในการส่งเสริมการอ่าน
ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
Learning Outcome ด้านกิจการนิสิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ภายใต้กรอบ TQF
กิจกรรมสัมมนาเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การดำเนินงานกิจการนิสิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
เศรษฐกิจพอเพียง.
นโยบายการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา
ห้องเรียนแห่งการเปลี่ยนแปลง
สรุปประเด็นการบรรยายของวิทยากร
รศ.ดร.เทียมจันทร์ พานิชย์ผลินไชย
ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
มีหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน/หน่วยงานเข้าหากัน
การประเมินคุณภาพภายนอก ระดับอุดมศึกษา รอบที่3
สรุปกรอบการพัฒนาหลักสูตรกิจกรรมลูกเสือ
โครงการค่ายเรียนรู้คุณธรรม นำชีวิตพอเพียง ปี 2550
บุคลิก 9 ประการ ที่ควรพัฒนา
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
วิชาชีพครูไทยในปัจจุบันและอนาคต
ความเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบต่อการศึกษาและวิชาชีพครู ในปัจจุบันและอนาคต
จากนโยบาย... สู่การปฏิบัติ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
มองอนาคตอุดมศึกษาไทย
2. กระทรวงศึกษาธิการกับการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน
( Theory of Multiple Intelligences ) Gardner (การ์ดเนอร์)
หลักการบริหารภาครัฐยุคใหม่
ตัวอย่าง การประชุม สภาวิชาการมหาวิทยาลัยนครพนม ครั้งที่ ..../…......
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
การเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ และผู้นำทางวิชาการ
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
ข้อเสนอยุทธศาสตร์การดำเนินงาน เครือข่ายพัฒนาบัณฑิตอุดมคติ เขตภาคกลาง 2554 จิรวัฒน์ วีรังกร.
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
ปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง ปฏิรูปเพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาประเทศไทย
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
สำนักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา
โครงการส่งเสริมการพัฒนาสหกิจศึกษา ในสถาบันอุดมศึกษา
การเตรียมการของคณะครุศาสตร์ สู่การเป็นประชาคมอาเซียน
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
จรรยาบรรณ เรื่องส่งเสริมเสรีภาพในวิชาชีพ
รศ.ดร.วิโรจ อิ่มพิทักษ์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
นโยบายและยุทธศาสตร์ด้านวิเทศสัมพันธ์ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (2555 – 2559) รศ. โรม จิรานุกรม รองอธิการบดีฝ่ายวิเทศสัมพันธ์และนักศึกษาเก่าสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
หมายเหตุ : หน้าแรกแล้วแต่ท่านจะออกแบบนะครับ
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
หลักสูตรใหม่.... Knowledge กลุ่มความรู้ Knowledge Cluster 1. ภาษาและวัฒนธรรม Language and Culture 2. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและคณิตศาสตร์ Science, Technology,
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
สังคมไทยที่พึงประสงค์ เข้มแข็งและมีดุลยภาพ 3 ด้าน
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
การเรียนรู้ที่ต้องการพัฒนา
ธรรมาภิบาลกับการจัดการภาครัฐแนวใหม่
ความเป็นครู.
ชุดเรียนรู้สร้างเสริมสุขภาพช่องปากนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 6
การนำเสนอผลงานวิจัย โดย : นายเอกพงษ์ วรผล.
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
แนวทางการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บนเส้นทางพัฒนานักศึกษา มหาวิทยาลัยคริสเตียน บนเส้นทางพัฒนานักศึกษา มหาวิทยาลัยคริสเตียน ดร.จิรวัฒน์ วีรังกร

มหาวิทยาลัยคริสเตียน คณาจารย์ นักศึกษา บัณฑิตที่พึงประสงค์ เก่ง ดี มีความสุข ภูมิใจไทย มหาวิทยาลัยคริสเตียน

ปัจจัยอนาคต Change เศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี สภาวะแวดล้อม โลกาภิวัตน์ การเมือง เศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี สภาวะแวดล้อม โลกาภิวัตน์ Change

21 st Century โลกที่เชื่อมโยงกัน ส่งผลถึงกัน (สภาวะไร้พรมแดน) * การเมือง * เศรษฐกิจ * ความรู้ / เทคโนโลยี Cross – Cultural (คลื่นวัฒนธรรมข้ามชาติ) * สภาวะซึมซับ – รับเอา สภาวะการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา (Change) * ความไม่แน่นอน - รู้เท่า รู้ทัน ตามทัน - ภูมิคุ้มกันผู้คน / ประเทศ Strong Thai Culture - ปรับตัว / ปรับปรุง / ปรับเปลี่ยน / ปรับใจ - เรียนรู้ / แลกเปลี่ยนเรียนรู้ / พัฒนาตนอยู่เสมอ - คิดใหม่ / คิดวิเคราะห์ / คิดจำแนกแยกแยะ

21 st Century (โลกความรู้ที่เปลี่ยนแปลงไป) บัณฑิตศตวรรษที่ 21 ไฝ่รู้ สู้งาน ประสานสัมพันธ์ มุ่งมั่นประสิทธิภาพและประสิทธิผล มีอิสระทางความคิด มีจิตวิจัย ศ.นพ.สุทธิพร จิตต์มิตรภาพ 2552

Pressure Factor ผลกระทบต่อการพัฒนานักศึกษา ปัจจัยภายนอก * Faster Globalization * ไทยก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน 2558 (ASIAN COMMUNITY) ปัจจัยภายใน * นโยบายประเทศไทยน่าอยู่ ของ สกอ. - เสริมสร้างความเป็นพลเมือง * แนวการรับสมัครงานของผู้ประกอบการ * วิกฤตการพัฒนานักศึกษา

Essential 21 st Century Student Skills Effective Communication : Reading, Presentation, interpersonal skill Critical Thinking & Problem Solving Thinking Skill (Creative, Critical, Analysis, Problem solving, futuristic) Cross – Cultural Understanding Collaboration , Teamwork , Leadership Information & Media Literacy Computing & ICT Literacy Learning Skill Life & Social Skill

21 st Century Readiness for every student Communication Skill Learning Skill Life & Social Skill

ASIAN COMMUNITY ASIAN BECOME ONE

ประเทศไทยภายใต้ประชาคมอาเซียน อำนาจอธิปไตยของประเทศอาจลดลง (สละประโยชน์รัฐเพื่อประโยชน์ของ อาเซียน) ไทยอาจขาดดุลด้านสังคมวัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม ความเป็นธรรมในสังคม) ประเด็นแรงงานข้ามชาติ อาจกระทบ การมีงานทำของบัณฑิตไทย ความเสี่ยงด้านความมั่นคง ภาษาที่ใช้ในประชาคมอาเซียน คือ อังกฤษ

ปฏิญญาอาเซียนด้านการศึกษา การเผยแพร่ความรู้ ข่าวสารเกี่ยวกับ อาเซียน การเตรียม นักเรียน นักศึกษา ประชาชน ให้มีทักษะที่เหมาะสมเพื่อเตรียมความพร้อม * ภาษาอังกฤษ * ภาษาของประเทศเพื่อนบ้านที่จำเป็น * เทคโนโลยีสารสนเทศ * ทักษะ ความชำนาญที่สอดคล้องกับ การปรับตัว และการเปลี่ยนแปลงทาง อุตสาหกรรม * การเพิ่มโอกาสการหางานของประชาชน * การปรับตัวกับมาตรฐานการทำงานที่เป็นสากล

ปฏิญญาอาเซียนด้านการศึกษา การพัฒนามาตรฐานการศึกษา เพื่อรองรับ การ Rotate ของ ผู้เรียน ครู อาจารย์ ใน ASEAN การเตรียมความพร้อมเพื่อเปิดเสรีทางการศึกษาและการเปิดเสรีในการเคลื่อนย้ายแรงงาน การพัฒนาเยาวชนในการก้าวสู่ ASEAN Community

ข้อน่าเป็นห่วง โอกาสทองของคนประเทศเพื่อนบ้าน คนชาติเพื่อนบ้านพูดภาษาไทยได้ แต่คนไทยมีจำนวนน้อย พูดภาษาเพื่อนบ้านได้ บัณฑิตไทยอาจถูกแย่งงานมากขึ้น ค่าจ้าง อาจถูกลง ความสนใจประเทศเพื่อนบ้านย่านอาเซียน ของนิสิตนักศึกษาไทย (สนใจน้อยมาก)

สถานการณ์ความขัดแย้งของประเทศ ความเป็นพลเมือง (Citizenship) สำนึกในหน้าที่และความรับผิดชอบ ศรัทธาและเชื่อมั่นวิถีประชาธิปไตย เคารพ (ความเป็นมนุษย์ ความหลากหลาย) มีส่วนร่วม - ร่วมทุกข์ ร่วมสุข กับสังคม - ร่วมสร้างกติกา และเคารพกติกา - ร่วมสร้างความปรองดองและสมานฉันท์ - ร่วมพัฒนา สร้างสรรค์ จิตสาธารณะ / จิตอาสา ยึดประโยชน์ของส่วนรวม / ประเทศเป็นสำคัญ

ทิศทางการรับบัณฑิตเข้าทำงานในอนาคต ตลาดเป็นของนายจ้าง ต้องการบัณฑิต : ดี พร้อม เก่ง (คิดเป็น + ทำได้) - สารพัดประโยชน์ (สากกะเบือยันเรือรบ) - หลากหลายทักษะ (Multiskill) - ทักษะการสื่อสาร (Effective Communication) - มีประสบการณ์การทำงาน (ทำงานเป็น) - พร้อมทำงานร่วมกับผู้อื่น - สู้งาน (อดทนต่อความยุ่งยาก) - แสดงออกรับผิดชอบสูง - จิตสำนึกบริการ ช่วยเหลือกัน ควรมีกิจกรรมจิตอาสาเมื่อศึกษาในสถาบัน

10 ปัญหาสำคัญทางวินัยนักศึกษา ของนิสิตนักศึกษาไทย การแต่งกาย วินัยจราจร การเสพสุรา สารเสพติด อบายมุข การไม่ปฏิบัติตามระเบียบของ ม. การทะเลาะวิวาท / ใช้ความรุนแรง การทุจริตการสอบ การเล่นการพนัน วินัยในการเรียน พฤติกรรมทางเพศ วินัยในหอพัก

รากฐานปัญหานักศึกษา มุมมองเชิงอนาคต (ตระหนักถึงสถานการณ์ ที่ไม่แน่นอน) ทักษะการเรียนรู้ การคิด ไม่เพียงพอ แรงจูงใจด้านการเรียนรู้และพัฒนาตนเอง ไม่เพียงพอ วินัยในตนเอง ภูมิคุ้มกันชีวิตไม่เพียงพอ จิตสำนึกสาธารณะลดลง

การพัฒนาคุณภาพบัณฑิต ในสภาวการณ์ปัจจุบัน การเตรียมผู้เรียนสู่สังคมพหุวัฒนธรรม (Pluralistics Society) การเตรียมผู้เรียนให้เป็นพลเมืองในสังคมประชาธิปไตย (Citizenship) การเตรียมผู้เรียนให้มีความพร้อมในการทำงานในโลกโลกาภิวัตน์ (Ready to work in Globalization World)

ทิศทางการพัฒนานักศึกษา (พลเมืองไทย + พลเมืองอาเซียน + พลเมืองโลก) ปรับ Concept การผลิตบัณฑิต สร้างความรู้ ความเข้าใจ ความตระหนัก ในสถานการณ์ “ประชาคมอาเซียน” (Asian View + Global View) สร้างโอกาสการเรียนรู้ภาษาเพื่อการสื่อสาร ที่มากกว่าภาษาไทย - อังกฤษ การสร้างความเป็นพลเมือง + ความสำคัญ ด้าน National Spirit การเรียนรู้กติกาสากล

ทิศทางการพัฒนานักศึกษา (พลเมืองไทย + พลเมืองอาเซียน + พลเมืองโลก) ความเข้าใจวัฒนธรรมประเทศเพื่อนบ้าน พัฒนาสมรรถนะการอยู่ร่วมกันภายใต้สังคม พหุวัฒนธรรม - การปฏิบัติต่อกัน ด้วยความเคารพกัน เรียนรู้มาตรฐานวิชาชีพร่วมของอาเซียน (บัญชี วิศวกรรมศาสตร์ ทันตแพทย์ แพทยศาสตร์ สถาปัตยกรรมศาสตร์ พยาบาล วิชาชีพเหล่านี้สามารถเดินทาง ไปประกอบอาชีพในประเทศต่าง ๆ ของ อาเซียน อย่างเสรี)

ประเด็นท้าทายด้านการพัฒนานักศึกษา 1 ประเด็นท้าทายด้านการพัฒนานักศึกษา 1. จะสร้างนักศึกษาอย่างไร ให้มีความรู้ ทักษะ ความคิด การสื่อสาร เพื่อให้นักศึกษาสามารถ อยู่ได้ในสภาวะการดำรงชีวิตและการทำงาน ภายใต้สังคมพหุวัฒนธรรม 2. “ความสามารถในการปลูกฝัง” จะเป็นประเด็น สำคัญในอนาคต สถาบันอุดมศึกษาจะมี แนวทางในการสร้างบุคลากรรุ่นใหม่อย่างไร

นักศึกษายุคใหม่ ต้องใช้ความรู้ที่หลากหลายและประสบการณ์รอบด้านมากกว่าอดีต สมรรถนะในตัวนักศึกษา คือ ความจำเป็นที่จะต้องพัฒนาให้เกิดขึ้นในตัวนักศึกษา

บัณฑิตอุดมคติไทย ดูแลตนเองได้ พึ่งตนเองได้ เผื่อแผ่ แก่ผู้อื่น คนที่จะดำรงชีวิตเป็นคนดีของสังคม ดูแลตนเองได้ พึ่งตนเองได้ เผื่อแผ่ แก่ผู้อื่น สามารถเผชิญความเปลี่ยนแปลงรุนแรง และไม่คาดฝันได้ ครั้งแล้วครั้งเล่า มี learning skill, Adapability มี life skills, work skills, etc ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช

บัณฑิตอุดมคติไทย - มีคุณธรรม จริยธรรม เป็นคนดีของสังคม - มีคุณธรรม จริยธรรม - เข้าใจชุมชน สังคมตน วัฒนธรรมอื่น - เคารพเห็นคุณค่าในความแตกต่าง - มีทักษะในการจัดการความขัดแย้ง - มีทักษะความร่วมมือ ทีม ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช

บัณฑิตยุคใหม่ Knowledge Worker & Learning Person

การศึกษายุคใหม่ มุ่งผลสัมฤทธิที่เกิดขึ้นกับตัวผู้เรียนที่สามารถ วัดได้ สถาบันการศึกษาต้องชี้ให้เห็นได้เกี่ยวกับผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นแก่ผู้เรียน

The Aim of Education is the Development of Character การศึกษา คือ การพัฒนาบุคลิกอุปนิสัย

Student Characteristics (บุคลิกอุปนิสัย) ความหมาย ลักษณะบุคลิกของนักศึกษาที่แสดงออกมา เป็นประจำ / สม่ำเสมอ สะท้อนให้เห็นถึงลักษณะ ธรรมชาติ หรือ ความเป็นตัวตนของนักศึกษาคนนั้น * นักศึกษาอาจจะรู้ตัวหรือไม่รู้ตัวก็ได้ * อาจจะมีทั้งส่วนที่ดีและไม่ดีก็ได้

Student Characteristics (บุคลิกอุปนิสัย) ตัวอย่าง ใฝ่เรียนรู้ ใจกว้าง / ใจแคบ กล้าหาญ / ขี้ขลาด ขยันบากบั่น / ขี้เกียจ ประหยัด / สุรุ่ยสุร่าย

Character is Destiny (บุคลิกอุปนิสัย คือ ชะตากรรม) ตัวตัดสินความเป็นไปของชีวิต ประสบความสำเร็จ / ล้มเหลว

Characteristics ที่มุ่งหวัง คุณลักษณะพื้นฐานของ ความเป็นบัณฑิต คุณลักษณะความเป็นนักวิชาชีพ คุณลักษณะความเป็นพลเมือง

คุณลักษณะความเป็นนักวิชาชีพ (Professionalism) ทักษะวิชาชีพ (ทำเป็น ทำได้) บุคลิกภาพตามกรอบวิชาชีพ คุณธรรมตามกรอบวิชาชีพ (จรรยาบรรณวิชาชีพ)

Christian Character รัก สามัคคี Love and Unity อาสา ช่วยเหลือ Volunteer and Helping รัก สามัคคี Love and Unity กล้าหาญ เสียสละ Courage and Sacrifice อดทน อดกลั้น Enduring and Restraint ซื่อสัตย์ สุจริต Faithfulness and Honesty ให้อภัย ใจสุภาพ Forgiveness and Politeness ใส่ใจ ใฝ่รู้ Concentration and Inquisitiveness ไตร่ตรอง รู้คิด Analytical and Critical Thinking

Christian Character Spirituality Development

หว่านพืชฉันใด ย่อมได้ผลฉันนั้น คำโบราณท่านสอนว่า หว่านพืชฉันใด ย่อมได้ผลฉันนั้น ใช้เวลาเพื่อหว่านสิ่งใด ย่อมได้รับผลตามที่หว่านนั้น สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม

แนวคิด อุปนิสัยสะท้อน ทัศนคติ จิตใจและพฤติกรรม วิธีการสร้างอุปนิสัยไม่มีคำตอบเดียว อุปนิสัยเกิดจากประสบการณ์หลากหลาย ที่สถาบันจัดขึ้น

All Round Student Development การพัฒนารอบด้านของความเป็นมนุษย์

2 กรกฏาคม 2552 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการประกาศ เกณฑ์มาตรฐานคุณวุฒิอุดมศึกษาแห่งชาติ Thailand Qualification Framework in Higher Education (TQF)

กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา Thailand Qualification Framework for Higher Education กรอบที่แสดงถึงระบบคุณวุฒิการศึกษาระดับ อุดมศึกษาของประเทศ สาระสำคัญของกรอบประกอบด้วย - มาตรฐานผลการเรียนรู้ (ในแต่ละระดับคุณวุฒิ) - ลักษณะหลักสูตร - ปริมาณการเรียนรู้ - การเทียบโอนการเรียนรู้ - ระบบกลไกเพื่อสร้างความมั่นใจ

กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา Thailand Qualification Framework for Higher Education กำหนดมาตรฐานผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง (Learning Outcome) ของบัณฑิตในระดับอุดมศึกษาทุกระดับ ประกันมาตรฐานผลการเรียนรู้ของบัณฑิต ของสถาบันอุดมศึกษา เป็นกรอบอ้างอิงในการประกันคุณภาพการศึกษา (การตรวจสอบมาตรฐานคุณวุฒิ) เป็นกรอบเพื่อการเทียบเคียง เทียบโอนนักศึกษาระหว่างสถาบัน

ระดับคุณวุฒิ ระดับที่ 1 : อนุปริญญา (3 ปี) ระดับที่ 2 : ปริญญาตรี ระดับที่ 3 : ประกาศนียบัตรบัณฑิต ระดับที่ 4 : ปริญญาโท ระดับที่ 5 : ประกาศนียบัตรบัณฑิตขั้นสูง ระดับที่ 6 : ปริญญาเอก

TQF คุณภาพ และ มาตรฐาน ผลลัพธ์การเรียนรู้ ที่พึงประสงค์ใน แต่ละระดับคุณวุฒิ คุณภาพบัณฑิต ของสถาบัน การแสดงออกของนักศึกษา (Student Performance)

หลักการสำคัญของ TQF เน้นกำหนด Learning Outcome อิสระสถาบันในการกำหนดและกำกับ

Learning Outcome คือ อะไร

Learning Outcome คือ อะไร ข้อความ / ประเด็นความมุ่งหวัง - มุ่งพรรณนาผลที่จะเกิดขึ้นแก่ผู้เรียน - มุ่งเน้นสัมฤทธิผลที่จะเกิดขึ้นแก่ผู้เรียน

Learning Outcome ลักษณะผลลัพธ์การเรียนรู้ ข้อความเข้าใจง่าย ชัดเจน ระบุสิ่งซึ่งนักศึกษาถูกมุ่งหวังให้สามารถ แสดงออกมาให้เห็นเป็นรูปธรรม สิ่งซึ่งมุ่งหวังสามารถวัดได้

การระบุ Learning Outcome แสดงออกซึ่งความเข้าใจ แสดงออกซึ่งพฤติกรรมที่มุ่งหวัง แสดงออกซึ่งการมีทักษะ เกิดทัศนคติ ความตระหนัก ทำได้-ทำเป็น / ปฏิบัติได้-ปฏิบัติเป็น ได้คิด ฉุกคิด ย้อนคิด มองเห็นลู่ทาง

มาตรฐานผลการเรียนรู้ ข้อกำหนดเกี่ยวกับความคาดหวังที่จะให้บัณฑิตได้เรียนรู้และสามารถทำได้หลังสำเร็จการศึกษาแล้ว คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะเชาวน์ปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์และการสื่อสาร

Concept การพัฒนานักศึกษา ตามกรอบ TQF มุ่งเน้นการพัฒนานักศึกษาแบบองค์รวม คิดแบบองค์รวม ดำเนินงานแบบบูรณาการ

Concept การพัฒนานักศึกษา ตามกรอบ TQF กำหนดมาตรฐานขั้นต่ำของผลลัพธ์ ที่เกิดขึ้นกับบัณฑิตในแต่ละระดับ การศึกษา

Concept การพัฒนานักศึกษา ตามกรอบ TQF มุ่งสู่นักศึกษารายบุคคล มุ่งสู่นักศึกษาทุกคนในสถาบัน

แนวคิด TQF สถาบันยังมีความเป็นตัวของตัวเอง สามารถรักษาเอกลักษณ์ของตนเอง มีจุดยืนชัดเจน รักษาปรัชญา อุดมการณ์ของสถาบัน

Learning Outcome คุณธรรม จริยธรรม (Ethical and Moral Development) การพัฒนาลักษณะนิสัย * สามารถควบคุมตนเองและจัดการปัญหา ของตนด้านคุณธรรมได้ * แสดงออกซึ่งพฤติกรรมทางด้านคุณธรรม (ซื่อสัตย์ รับผิดชอบ เสียสละ ฯลฯ) * มีวินัยในตนเอง

Learning Outcome ความรู้ (Knowledge) * คนรู้จริง * รู้ทุกมิติของศาสตร์ที่เรียน * รู้ลึกในศาสตร์สาขาวิชาเอก * รู้และเข้าใจหลักการ แนวคิด ทฤษฏีของศาสตร์ * รู้เท่าทันความก้าวหน้าทางวิทยาการ

Learning Outcome ทักษะเชาวน์ปัญญา (Cognitive Skill) * การมีทักษะการคิด (Critical & Analysis & Problem Solving) * เกิดทัศนคติ / เจตคติ / คิดได้ / คิดเป็น * สามารถวิเคราะห์สถานการณ์ * สามารถประยุกต์ความรู้ แนวคิด หลักการ ทฤษฏี เพื่อการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์

Learning Outcome ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบ (Interpersonal Skill and Responsibility) * สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ * สามารถทำงานเป็นทีมได้ * มีกาละเทศะ * จัดการภาวะอารมณ์ได้ * ใช้ภาวะผู้นำเป็น 57

Learning Outcome ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (Analytical & Communication Skill) * สามารถสื่อสารได้ (พูด เขียน นำเสนอ) * สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลและประมวลผล * สามารถใช้เทคนิคพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ และสถิติเพื่อวิเคราะห์และทำความเข้าใจ

แนวคิดการพัฒนานักศึกษา มหาวิทยาลัยคริสเตียน (Christian Character) ผลลัพธ์ที่มุ่งหวัง (Learning Outcome) ( TQF + Christian Character Outcome)

โจทย์คำถาม What is Outcome ของ Christian Character

กิจการนักศึกษา บนเส้นทางการพัฒนานักศึกษา

พัฒนานักศึกษา คือ ทำให้นักศึกษาเกิดพัฒนาการ พัฒนานักศึกษา คือ ทำให้นักศึกษาเกิดพัฒนาการ พัฒนาการรอบด้านของความเป็นมนุษย์ - พัฒนาการทางการเรียนรู้ - พัฒนาการทางความคิด - พัฒนาการทางสติปัญญา - พัฒนาการทางอารมณ์ - พัฒนาการทางบุคลิกภาพ - พัฒนาการทางจิตสำนึกรับผิดชอบ - พัฒนาการทางสังคม

งานกิจการนักศึกษายุคใหม่ มุ่งเน้นพัฒนานักศึกษา

งานกิจการนักศึกษายุคใหม่ มุ่งสร้างทักษะชีวิตนักศึกษา