พุทธปรัชญา ความเป็นมา พุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเรียนรู้ ในศตวรรษที่ ๒๑
Advertisements

เปรียบเทียบครุศาสตร์อุตสาหกรรมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ  
แนวคิดทางปรัชญาพื้นฐาน
พุทธธรรม นำบุคลิกภาพ อ.วิยะดา วรธนานันท์ สำนักการศึกษาต่อเนื่อง
ลักษณะของหลักสูตร หลักสูตรที่เน้นเนื้อหาเป็นหลักสำคัญ
เตรียมตัวผู้แทนชาว ไทย เข้าสู่ “AMC เชียงใหม่ ” “ บอกเล่าเรื่องพระ เยซูเจ้า ให้ชาวเอเชีย ” ณ โรงแรมโลตัส ปางสวนแก้ว เชียงใหม่ ตุลาคม 2006.
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ สะท้อนธรรมชาติวิทยาศาสตร์
ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ชื่อเรื่อง ไตรสิกขาพัฒนาสุขภาพจิต จัดทำโดย ด. ช
ผลิตสินค้าและบริการ.
เรื่องไตรสิขาพัฒนาสุขภาพจิต
หลักการพัฒนา หลักสูตร
สิ่งฟุ่มเฟือย การบริโภค สิ่งจำเป็น.
พลเมืองดีตามประเพณี และวัฒนธรรมไทย
เรื่อง สถาบันการศึกษา
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
กระบวนการฝึกวิธีคิด แบบโยนิโสมนสิการ
สถาบันการศึกษา.
พันจ่านักเรียน รุ่นที่ ๓/๕๖ พื้นที่ พุทธมณฑล
มคอ.4 รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม
แนวคิดและทฤษฎีทางจริยธรรม
บทบาทของโรงเรียน ในการนำการเปลี่ยนแปลงมาสู่ชุมชน
การจัดการศึกษาในชุมชน
เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม
ด.ช.ณัฐนันท์ขาววิเศษ เลขที่1ป4/6
สุขภาพจิต และการปรับตัว
การเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าทางการศึกษา
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การประชุมชี้แจงสาระสำคัญของประกาศ คพร.
นักเรียนช่วงชั้นที่ ๓ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓/๒
ทักษะการตัดสินใจ นัทธี จิตสว่าง 28 มีนาคม 2553.
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
รองศาสตราจารย์ ดร.เอมอัชฌา วัฒนบุรานนท์
การวัดผล (Measurement)
ถ่ายทอดประสบการณ์โดย
ขอต้อนรับทุก ท่าน WELCOME ! No 1. การบรรยายความรู้ มุมมองใหม่ กับการทำงานส่งเสริมเคหกิจ เกษตร วันพุธที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๕๔ ระหว่างเวลา ๑๕. ๐๐ – ๑๖. ๐๐ น.
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
ความหมายของวิทยาศาสตร์
นางสาวพรศิริ กลิ่นบำรุง วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสยามในพระอุปถัมภ์ ฯ
สถาบันศาสนา หมายถึง แบบแผนของความคิดการกระทำในเรื่องเกี่ยวกับ จิตใจ ความเชื่อทางสังคม ทางศาสนา และเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม ประกอบด้วย 3 ประการ คือ.
สมาชิก นายธนากร กุจิรพันธ์ ม. 4/6 เลขที่3 นายภูวพงษ์ ภุมราพันธุ์ ม
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระที่ ๑ : ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
บทที่ 2 พุทธธรรมกับสังคม.
การวิจัยการบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ ดร. สุจิตรา ธนานันท์
แก้ปัญหาพฤติกรรมการขาดความรับผิดชอบในการส่งงานโดยใช้หลักไตรสิกขา
บทที่ 2 ทฤษฏีจริยธรรม.
ความเป็นครู.
9 คำถามหลังเรียน.
ชุดเรียนรู้สร้างเสริมสุขภาพช่องปากนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 6
ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
การสอนแบบสืบสวนสอบสวน
การนำเสนอผลงานวิจัย โดย : นายเอกพงษ์ วรผล.
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
การบริหารงานวิชาการ : ในมิติของการประเมินผล
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
สรุปวิธีสอนที่ใช้ในการฝึกอบรม
ปฏิญญาสากลว่าด้วยเรื่อง สิทธิมนุษยชน
มงคล 38 ประการ พระพุทธเจ้าต้องการสอนให้ประชาชนรู้ ว่าปฏิบัติตนอย่างไรจึงจะเป็นมงคลแก่ตัวเอง แบ่งเป็น - สำหรับเยาวชน 10 ประการ - สำหรับคนวัยทำงาน 18.
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
วิธีการสอนโดยใช้เกม (Game)
วิธีสอนแบบแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พุทธปรัชญา ความเป็นมา พุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ ไทย เป็นหัวใจของวัฒนธรรมไทย

มาแต่โบราณกาลหลักธรรมคำสอน ในพระพุทธศาสนาได้สอดแทรกอยู่ ในจิตใจของประชาชนเรียกว่า “จิตวิญญาณ”

พระพุทธศาสนา ศาสนาแห่งการกระทำ เป็นศาสนาแห่งความเพียร ที่มุ่งผลในทางปฏิบัติ ปัจจุบันนี้

แนวคิดพื้นฐาน คำว่า“พุทธปรัชญา” แปลว่า ปัญญา ความรู้แจ้งของผู้รู้ คือความรู้แจ้งใน ความเป็นจริงของสิ่งทั้งหลาย ความรู้แจ้งนี้เกิดจากการเล่าเรียน

ฝึกฝนจำแนกแยกแยะและคิดค้นด้วยเหตุผลตามที่เป็นจริง คือ “ชีวิตที่บรรลุสภาวะแห่งนิพพาน” การที่จะดำรงชีวิตที่ดีที่สุดด้วยการปฏิบัติพร้อมด้วยหลักไตรสิกขา

พุทธปรัชญา ในปัจจุบันมีการมุ่งค้นหา ความจริงเป็นหลัก พื้นฐานของความจริงนี้ สามารถแบ่งปรัชญาได้ 3 สาขาใหญ่ คือ

1.อภิปรัชญา อภิปรัชญาในพุทธปรัชญา “ชีวิตหรือประสบการณ์ถือว่า ความจริงนั้นมีลักษณะเป็นทุกข์ อนิจจังและอนัตตา ซึ่งรวมเรียกว่า ไตรลักษณ์ ล้วนไม่มีตัวตน”

ญาณวิทยา ญาณวิทยาในพุทธปรัชญา มนุษย์เกิดความรู้ด้วยสัญญา เช่น ได้ยิน ได้ฟัง ได้สัมผัส

คุณวิทยา หมายถึง การรักษาศีล ปฏิบัติธรรม หมายถึง การรักษาศีล ปฏิบัติธรรม สภาพที่เป็นความดีแท้จริงอันสูงสุด สภาพที่เรียกว่านิพพาน เป็นสภาพที่ หลุดพ้น ความโลภ ความโกรธ ความหลงผิด

จุดมุ่งหมายของการศึกษา มุ่งพัฒนาบุคคล เพื่อให้สามารถพัฒนาตนเองและสังคม

ต้องการให้ผู้เรียนได้รู้จักตนเอง หรือปัญหาของตนเอง อันเนื่อง มาจากอกุศลมูล

ให้ผู้เรียนใช้ปัญญาในการแก้ปัญหาสังคมรับผิดชอบต่อสังคมมากขึ้น

กระบวนการเรียนการสอน เปิดโอกาสให้ผู้เรียนแสวงหาความรู้ ความจริงทั้งทางโลก และทางธรรม

ครูทำหน้าที่เป็นผู้แนะแนว และกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ด้วย การเน้น การพัฒนาความคิดคือ ต้องมีโยนิโสมนสิการ

กระบวนการเรียนการสอนที่ผู้เรียนใช้โยนิโสมนสิการ คือ การฝึกความคิดให้คิด อย่างถูกวิธี

คิดอย่างมีระบบ, คิดโดยแยบคาย, รู้จักวิเคราะห์ไม่มองสิ่งต่างๆ เพียงตื้นๆ ผิวเผิน ซึ่งเป็นพื้นฐานสำคัญในการสร้างปัญญาบริสุทธิ์เป็นอิสระ

สถาบันการศึกษา เป็นที่อบรมเยาวชนให้เป็นคนดี เป็นมนุษย์ที่ดีโดยหลักธรรม อบรมให้เขาเป็นบุตรดี เป็นศิษย์ที่ดี เป็นเพื่อนที่ดี เป็นพลเมืองดีของประเทศ

ควรจัดให้มีทั้งการให้การศึกษาหาความรู้ทางวิชาชีพ และความเอาใจใส่ใกล้ชิดระหว่างครู และนักเรียน คือต้องมีทั้งโยนิโสมนสิการและความเป็นกัลยาณมิตร

ผู้บริหาร ผู้บริหาร ต้องเป็นคนดี ประพฤติดี มีคุณธรรมโดยยึดหลักพรหมวิหาร 4

- เมตตา - กรุณา - มุฑิตา - อุเบกขา

ผู้สอน ผู้สอน มีบทบาทสำคัญมาก เพราะเป็น ปัจจัยที่ส่งเสริมปัญญา และผู้นำทางวิญญาณ

เป็นผู้ถ่ายทอดศิลปะ วิทยาให้แก่ศิษย์ และเป็นกัลยาณมิตรที่ช่วยชี้แนะ ชี้ช่องทางให้ศิษย์รู้จักคิด มีความรับผิดชอบ รู้จักดำเนินชีวิตที่ดี

ผู้เรียน เป็นผู้รับฟังคำแนะนำของครูด้วยความเคารพและศรัทธา

ต้องเป็นผู้ที่รอบรู้ คือ รู้จักตนเอง รู้จักผู้อื่น รู้วิชาการ รู้ชุมชน และสังคม รู้จักใช้เหตุผลและคุณธรรมในการตัดสินแก้ปัญหาของตนและสังคม

วิธีสอน ควรเน้นให้ผู้เรียนใช้โยนิโสมนสิการ รู้จักคิด ในเชิงเหตุผล และในเชิงคุณธรรม ปฏิบัติได้โดยเลือกวิธีสอนให้เหมาะสมกับผู้เรียนและเหมาะสมกับสถานการณ์ในแต่ละกรณี

เช่น วิธีสอนแบบบรรยาย, แบบถามตอบ, แบบปฏิบัติ, แบบเปรียบเทียบ, แบบจริยสัจ 4, แบบอภิปราย, แบบการสาธิต, แบบรายบุคคล, แบบสืบสวนสอบสวน

หลักสูตร หลักสูตร มุ่งผลิตคนที่มีความประเสริฐทั้งทางโลกและทางธรรม

เนื้อหาวิชาจึงประกอบด้วย เนื้อหาที่ว่าด้วยความรู้ความสามารถ ทัศนคติ ทักษะที่จำเป็นในการประกอบอาชีพ และวิชาที่จำเป็นต่อการพัฒนาจิตใจ

รายวิชาของหลักสูตรประกอบ ด้วยกลุ่มวิชาศิลปะศาสตร์ กลุ่มวิชา ชีพ และวิชาศีลธรรมอันเป็นราย วิชาที่สร้างกำลังคน เป็นการศึกษาเพื่อพัฒนาความเป็นมนุษย์

การวัดผลและประเมินผล การวัดผลต้องวัดด้วยตัวผู้เรียนเอง ตรวจสอบใจ ตนเอง ไม่ใช่ให้คนอื่นวัดให้ ตามแนวพุทธ เน้นที่การเรียนรู้ และปฏิบัติได้ ไม่ใช่เรียนรู้แล้วสอบได้

ผู้เรียนมีความรับผิดชอบที่จะ ต้องวัดและประเมินผลตนเอง นอกเหนือจากการวัดและประเมิน ผลโดยผู้สอนและความร่วมมือจากผู้อื่น โดยเน้นการปฏิบัติได้ และประพฤติตนเป็นคนดี