ไม่พบข้อบกพร่องและพบข้อบกพร่อง การแก้ไขข้อบกพร่อง กรณี ไม่พบข้อบกพร่องและพบข้อบกพร่อง
กลุ่มที่ 6 การแก้ไขข้อบกพร่อง โดย นายประยวน พันธ์สวัสดิ์ ผู้อำนวยการสำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 5 ประธานฯ นายจาตุรันต์ สมิทธ์ภินันท์ สหกรณ์จังหวัดนครพนม เลขานุการ นางสุนันทา เทพสาร หัวหน้าสำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ขอนแก่น เลขานุการ และ หัวหน้าสำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์และสหกรณ์จังหวัด หนองคาย หนองบัวลำภู เลย อุดรธานี บึงกาฬ นครพนม มุกดาหาร สกลนคร มหาสารคาม ร้อยเอ็ด กาฬสินธุ์
การแก้ไขข้อบกพร่อง สหกรณ์ที่ไม่มีข้อบกพร่อง ให้มีการบูรณาการตัวชี้วัดร่วมกัน ดังนี้ 1. การจัดชั้นคุณภาพการควบคุมภายในของกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ 2. มาตรฐานสหกรณ์ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ 3. การชำระบัญชีสหกรณ์
การแก้ไขกรณีที่พบข้อบกพร่อง 1. เมื่อพบข้อบกพร่อง ให้ทำหนังสือแจ้งสหกรณ์พร้อมทั้งสำเนารายละเอียดให้อีกหน่วยงานได้รับทราบด้วย 2. ให้สหกรณ์กำหนดวาระการแก้ไขข้อบกพร่องในวาระการประชุมกรรมการโดยมีผู้ตรวจการ และผู้สอบบัญชีเข้าร่วมประชุมเพื่อนำเสนอข้อบกพร่องดังกล่าว โดยให้คณะกรรมการมีส่วนร่วมในการพิจารณาแนวทางแก้ไขตามที่ได้แจ้งให้ดำเนินการ 3. หากไม่มีผล/หรือข้อยุติ ให้มีการประชุมร่วมกันระหว่างสหกรณ์จังหวัด หัวหน้าสำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ ผู้สอบบัญชี ผู้ตรวจการ เพื่อให้ได้ข้อสรุปในการนำเสนอที่ประชุม จกบ.
การแก้ไขกรณีที่พบข้อบกพร่อง (ต่อ) 4. นำเข้าที่ประชุม จกบ. เพื่อพิจารณาปัญหาแนวทางแก้ไข และข้อสรุปของที่ประชุม จกบ. ในการที่จะให้สหกรณ์ดำเนินการ 5. หากไม่มีผล/หรือข้อยุติ ให้แต่ละหน่วยงานดำเนินการใช้อำนาจตามกฎหมาย มาตรา 16 (1) (4) (5) มาตรา 17 , 18 ,20 ,21 , 22 (1) (2) (3) (4) และอำนาจหน้าที่ของแต่ละหน่วยงาน
การแก้ไขกรณีที่พบข้อบกพร่อง (ต่อ) กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ 1. ระบบการควบคุมภายในและระบบข้อมูลด้านการบริหารการเงินและ การบัญชีที่ดี 2. ระบบบัญชีและมาตรฐานการสอบบัญชีให้เหมาะสมกับธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 3. ให้ความรู้ด้านการบริหารการเงินและการบัญชี 4. ส่งเสริมการจัดทำบัญชีให้แก่สหกรณ์ 5. รายงานสภาวะเศรษฐกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร
การแก้ไขกรณีที่พบข้อบกพร่อง (ต่อ) กรมส่งเสริมสหกรณ์ 1. ส่งเสริม สนับสนุน พัฒนา และคุ้มครองระบบสหกรณ์ 2. ส่งเสริม เผยแพร่ และให้ความรู้เกี่ยวกับอุดมการณ์ หลักการและวิธีการสหกรณ์ให้แก่ บุคลากรสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และประชาชนทั่วไป 3. ศึกษา วิเคราะห์ และวิจัย เพื่อพัฒนาระบบสหกรณ์ การบริหารจัดการองค์กร และ การดำเนินธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร
การแก้ไขกรณีที่พบข้อบกพร่อง (ต่อ) 4. ศึกษาและวิเคราะห์ความต้องการของตลาดสินค้าสหกรณ์และสร้างเครือข่ายการ เชื่อมโยงธุรกิจระหว่างสหกรณ์กับสหกรณ์ สหกรณ์กับเอกชน ทั้งในประเทศและต่างประเทศ 5. ส่งเสริมและสนับสนุนด้านเงินทุน
สวัสดีค่ะ/ครับ