Department of Food Engineering DRYING Department of Food Engineering ปฏิบัติการเรื่อง การอบแห้งแบบถาด
Department of Food Engineering DRYING Department of Food Engineering วัตถุประสงค์ เพื่อให้นักศึกษาสามารถ 1. อธิบายหลักการทำงานและส่วนประกอบของ เครื่องอบแห้งแบบถาดได้ 2. คำนวณหาเวลาที่ใช้ในการอบแห้งได้
Department of Food Engineering DRYING Department of Food Engineering อุปกรณ์และเครื่องมือ 1. เครื่องอบแห้งแบบถาด (Tray dryer) พร้อมถาดของเครื่อง จำนวน 3 ถาด 2. นาฬิกาจับเวลา 3. กระป๋องหาความชื้น 4 ใบ 4. เขียงและมีด 5. ถาด 1 ใบ 6. เครื่องวัดความเร็วลม 7. ไม้บรรทัด 8. เทอร์โมมิเตอร์ 9. ตู้อบลมร้อน (Hot air oven) 10. อาหารตัวอย่าง
Department of Food Engineering DRYING Department of Food Engineering วิธีทดลอง หาปริมาณความชื้นของตัวอย่างอาหาร moisture can รูปที่ 1 ชั่งน้ำหนักกระป๋อง รูปที่ 2 ชั่งน้ำหนักกระป๋องและตัวอย่างอาหาร
Department of Food Engineering DRYING Department of Food Engineering 105 oC 24 hr. รูปที่ 3 นำตัวอย่างใส่ตู้อบลมร้อน รูปที่ 4 Hot air oven
Department of Food Engineering DRYING Department of Food Engineering ชั่งน้ำหนักและวัดพื้นที่ รูปที่ 5 ทำให้เย็นใน Desiccator
Department of Food Engineering DRYING Department of Food Engineering การเตรียมตัวอย่าง รูปที่ 6 หั่นตัวอย่างอาหาร รูปที่ 7 ใช้แม่พิมพ์ให้มีขนาดสม่ำเสมอ รูปที่ 8 การเรียงตัวอย่างอาหารในถาด
Department of Food Engineering DRYING Department of Food Engineering กดปุ่ม ON รูปที่ 9 การเรียงถาดในเครื่อง Tray dryer รูปที่ 10 เครื่อง Tray dryer
Department of Food Engineering DRYING Department of Food Engineering เครื่องวัดความเร็วลม รูปที่ 11 การวัดความเร็วลม
Department of Food Engineering DRYING Department of Food Engineering อ่านอุณหภูมิ รูปที่ 12 การวัดอุณหภูมิอากาศขาเข้า รูปที่ 13 การวัดอุณหภูมิอากาศขาออก
Department of Food Engineering DRYING Department of Food Engineering การนำเสนอผลการทดลอง 1. ที่เวลาใดๆ คำนวณหาความชื้นของอาหาร ( ) และอัตราการแห้งของอาหาร ( ) จากสมการ
Department of Food Engineering DRYING Department of Food Engineering 2. เขียนกราฟระหว่าง และ
Department of Food Engineering DRYING Department of Food Engineering 3. เขียนกราฟระหว่าง และ 4. หาเวลาที่ใช้ในการอบแห้งจากความชื้นเริ่มต้น ( )ไปเป็นความชื้นสมดุล ( )จากกราฟในข้อ 3 5. เปรียบเทียบเวลาอบแห้งที่ได้จากการทดลองกับจากการคำนวณ