บทบาทผู้สอนในการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานสำหรับผู้เรียนอาชีวศึกษา กรณีศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ในพระอุปถัมภัมภ์ฯ สนิท หฤหรรษวาสิน.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
Advertisements

นวัตกรรมการทดสอบความรู้เดิม
นางพัชราภรณ์ หงษ์สิบสอง และผู้ช่วยศาสตราจารย์นันทา เติมสมบัติถาวร
Quality Testing of Tests การหาคุณภาพของแบบทดสอบ
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ศึกษาความพึงพอใจของผู้บริหารและครูต่อสภาพแวดล้อมของสถานศึกษา อำเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา โดย เสมา แสนยากร.
การศึกษาความพึงพอใจของ
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ สาระ ดนตรี เรื่อง การเรียนดนตรีพื้นบ้านของจังหวัดน่าน.
ความพึงพอใจของผู้เรียนต่อคุณภาพการสอนของครู แผนกสามัญ หมวดพลานามัย ปีการศึกษา 2550 วิธีการวิจัยวัตถุประสงค์ ผลการศึกษา พบว่า โดยรวมนักเรียนมี ความพึงพอใจต่อคุณภาพ.
ณัฐชนัญ เสริมศรี ผู้วิจัย สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
การทดสอบค่าเฉลี่ยประชากร
ชื่อเรื่อง การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสามมิติเพื่อพัฒนาการเรียน การสอนหน่วยที่ 1 การบำรุงรักษาเครื่องยนต์เล็ก วิชางานเครื่องยนต์เล็ก รหัส
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
คุณลักษณะผู้นำของผู้จัดการ
วิทยาลัยเทคโนโลยีวชิราโปลีสงขลา อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา
เข้าร่วมประกวดผลงานวิจัยประเภทการเรียนการสอน
การใช้วิธีสอนแบบซินดิเคทในการสอนวิชาภาษาไทย
นางสาวสุภัทรา สุขวัฒนา วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสาม
นางสาว ธันยพัต ภักดี วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการจรัลสนิทวงศ์
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาโปรแกรมประยุกต์ทางคอมพิวเตอร์ โดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 สาขาคอมพิวเตอร์วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
ผู้วิจัย น.ส สุนิสา แก้วมา วิทยาลัยเทคโนโลยีรัตนโกสินทร์
วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์ฯ
1. 2 ปัญหาของการวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมล ศรีย่าน  จุดมุ่งหมายของหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 กำหนดให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ และประสบการณ์
เรื่องเลขยกกำลัง วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานอาชีพ
นายสุชาติ ประวัติ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค)
วิจัยประเภทการเรียนการสอน
ชื่อผลงานวิจัย กิจกรรมการเรียนการสอนวิชาการใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา เรื่อง การตกแต่งเอกสาร โดยวิธีการให้นักเรียนสร้างผลงานจากสถานการณ์จำลองที่กำหนดให้
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาจากการเรียน ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
จัดทำโดย นางสาวสุชาภา นรพัลลภ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา
นางสาวกุลวีณ์ สัตตรัตนามัย โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
การใช้โปรแกรม GSP พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การพัฒนาผลการเรียนรู้ ความคิดสร้างสรรค์ และความเข้าใจคงทน
ผลงานวิจัย โดย อ. หัสยา วงค์วัน
อาจารย์ชนิศา แจ้งอรุณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์
วิจัยในชั้นเรียน โดย อาจารย์ ปรารถนา นามบุรี
ผู้วิจัย อาจารย์ณฐกมล พินิจศักดิ์
เรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ของ ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผู้เรียนวิชาศึกษาทั่วไปกับ การทำโครงงานในรายวิชาระบบ ฐานข้อมูลของนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้วิชาหลักการจัดการ
บทที่ 7 การทดสอบค่าเฉลี่ยของ ประชากร. การทดสอบค่าเฉลี่ย 1 ประชากร ไม่ทราบค่าความแปรปรวนของประชากร ( ) สถิติที่ใช้ในการทดสอบ คือ t = d.f = n-1.
การทดสอบค่าเฉลี่ยประชากร 2 ประชากร
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ผู้วิจัย นางระเบียบ คุณากร วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
ผู้วิจัย นางวรรณา อนะมาน สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการราชดำเนิน
นางบุญเรือน ศรีเพ็ชร นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
นางสาวกุลวีณ์ เกษมสุข ผู้วิจัย
นางสาวสุภาภักดิ์ แก้วศรีมล วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ชื่อเรื่อง บทเรียนการสอนโดยใช้ E-Learning วิชาบัญชีต้นทุน 1 ของ นักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
3 rd largest economy world’s วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ is the การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชา คอมพิวเตอร์และ ระบบปฏิบัติการเบื้องตัน ของนักศึกษาระดับ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์โดยใช้ชุดการสอน ในรายวิชาสุนทรียศาสตร์เบื้องต้น ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขาคอมพิวเตอร์กราฟิก ผู้วิจัย อาจารย์ปนัดดา วรกานต์ทิ
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาแบบฝึกทักษะแก้ปัญหาทางสถิติเรื่องตารางแจกแจงความถี่ สำหรับนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ”
โดย อาจารย์นันทิพร ม่วงแจ่ม
ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาอาชีวศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาการ บัญชี วิชาการบัญชีเบื้องต้น ด้วยวิธีการจัดการเรียนรู้แบบสร้าง สถานการณ์จำลอง.
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
เรื่อง การพัฒนาทักษะการพิมพ์หนังสือราชการภายนอก ในรายวิชาพิมพ์ไทยด้วยคอมพิวเตอร์ 2 โดยใช้กิจกรรมการเรียนการสอน แบบเพื่อนช่วยเพื่อนของนักศึกษา ระดับ.
การวิจัยในชั้นเรียน เรื่อง การสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคชั่นนิสซึ่ม เพื่อส่งเสริมความสามารถทางการพูดภาษาอังกฤษและทักษะชีวิต ของนักเรียนสาขาวิชาการท่องเที่ยว.
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
ชื่อผู้ วิจัย นางสาวพัชราภรณ์ ใจบุญมา
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้บทเรียนมัลติมีเดียแบบ
ผู้วิจัย นางสาววริศรา ไชยโย ผู้วิจัย การพัฒนาชุดฝึกอบรม เรื่อง การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา เอกชน ประเภทอาชีวศึกษา (Development of a Training Package.
นักศึกษาขาดทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ในด้านการจำแนกสาร และสมบัติของสาร นักศึกษาไม่สามารถจำแนกชนิด ของสารได้ นักศึกษาไม่สามารถบอกสมบัติของ สารชนิดต่างๆได้
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ผู้วิจัย อาจารย์สมเกียรติ ขำสำราญ
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการสร้างเว็บเพจ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย ที่ได้รับการสอนแบบ.
นางสาวเกสรา ฉายารัตน์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทบาทผู้สอนในการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานสำหรับผู้เรียนอาชีวศึกษา กรณีศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ในพระอุปถัมภัมภ์ฯ สนิท หฤหรรษวาสิน

ที่มาและความสำคัญของปัญหา การปฏิรูปการศึกษา การจัดการเรียนรู้สำหรับอาชีวศึกษา ทฤษฎีการสอนแบบคอนสตรัคติวิส กระบวนการสอนแบบใช้ปัญหาเป็นฐาน (PBL) กระบวนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (IBL) คุณลักษณะพื้นฐานของผู้เรียนอาชีวศึกษา

วัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อพัฒนาและศึกษาประสิทธิภาพของรูปแบบการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานในมิติด้านบทบาทผู้สอน

เครื่องมือ โจทย์ปัญหาพร้อมใบงาน วิชาคอมพิวเตอร์เพื่องานอาชีพ เรื่อง การใช้โปรแกรมสำนักงาน (MS Excel) จำนวน 4 ปัญหา หาค่าความเชื่อมั่นด้วยวิธีการ Test-retest reliabilty ห่างกัน 4 สัปดาห์ แล้วนำมาหาค่าสหสัมพันธ์ (Pearson product-moment correlation coefficient) พบว่าทั้ง 4 สถานการณ์ปัญหามีค่าสหสัมพันธ์มากกว่า .5 วิ่งเข้าหา 1 แสดงว่ามีความเชื่อมั่นสามารถนำไปใช้ในการทดสอบรูปแบบการจัดการเรียนรู้ได้ (ปัญหา 1: r = 8.70, n = 38, p < 0.01; ปัญหา 2: r = 9.30, n = 42, p < 0.01; ปัญหา 3: r = 9.48, n = 35, p < 0.01; และ ปัญหา 4: r = 9.45, n = 34, p < 0.01)

เครื่องมือ แบบประเมิน 4 ชุด หาค่าความเชื่อมั่นโดยใช้ผู้ประเมินสองคน (inter-observer reliability) พบว่าแบบประเมินทั้ง 4 แบบมีค่าสหสัมพันธ์มากกว่า .5 วิ่งเข้าหา 1 แสดงว่ามีความเชื่อมั่นสามารถนำไปใช้ในการทดสอบรูปแบบการจัดการเรียนรู้ได้ (แบบประเมิน 1: r =9.64, n =38, p < 0.01; แบบประเมิน 2: r = 9.85, n = 42, p < 0.01; แบบประเมิน 3: r = 9.78, n = 35, p < 0.01; และ แบบประเมิน 4: r = 9.83, n = 34, p < 0.01)

กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มทดลอง เป็นกลุ่มที่เรียนรู้ตามรูปแบบการเรียนรู้แบบ PBL โดยปรับบทบาทผู้สอนตามรูปแบบการเรียนรู้แบบ IBL จำนวน 73 คน กลุ่มควบคุม เป็นกลุ่มที่เรียนรู้ตามรูปแบบการเรียนรู้แบบ PBL จำนวน 68 คน

ขั้นตอนการทดลอง ทดสอบก่อนเรียน ผู้เรียนทั้งสองกลุ่ม แล้วนำคะแนนมาหาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน แล้วนำเปรียบเทียบกันโดยใช้สถิติ Independent Samples t-test ผลการเปรียบเทียบพบว่า ค่า p-value มีค่าสูงกว่า .05 ซึ่งหมายความผู้เรียนทั้งสองกลุ่มมีความรู้ไม่แตกต่างกัน ผู้เรียนทั้งสองกลุ่มเรียนด้วยกระบวนการเรียนรู้ที่ต่างกัน ทดสอบหลังเรียนทันที แล้วนำคะแนนมาหาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน แล้วนำเปรียบเทียบกันโดยใช้สถิติ Independent Samples t-test

ผลการทดลอง ผู้เรียน n M SD F t df กลุ่มทดลอง 73 7.7945 2.44358 .042 3.874*** 139 กลุ่มควบคุม 68 6.1765 2.51527 ค่าเฉลี่ยของผู้เรียนทั้งสองกลุ่มมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t (139) = 3.874, p < .001) โดยค่าเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนกลุ่มทดลอง (M = 7.7945, SD = 2.44358) สูงว่าผู้เรียนกลุ่มควบคุม (M = 6.1765, SD = 2.51527) แสดงว่าการปรับบทบาทของผู้สอนตามรูปแบบการเรียนรู้ IBL ในการจัดการเรียนรู้แบบ PBL มีผลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนอาชีวศึกษา

อภิปรายผลการวิจัย ผู้เรียนไม่คุ้นเคยกับการเรียนรู้แบบ PBL ขาดทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเอง ส่งผลให้ผู้เรียนขาดทิศทางการเรียนรู้ที่ชัดเจน จึงแก้ปัญหาไม่ค่อยได้ ผู้สอนจึงต้องมีบทบาทดูแล กระตุ้นการเรียนรู้อย่างใกล้ชิด โดยใช้คำถาม หรือใบงาน ที่ต้องการคำตอบสั้น ๆ เป็นการนำทางการเรียนรู้

ขอบคุณครับ