ผู้วิจัย : นายสิทธิชัย โกเสนตอ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผลการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิคตัวต่อ วิชาคอมพิวเตอร์ และระบบปฏิบัติการเบื้องต้น สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ.
Advertisements

ศึกษาการแก้ปัญหาพฤติกรรมการไม่ตั้งใจเรียน
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์คะแนน 60% ในรายวิชาหลักการตลาด โดยใช้วิธีการสอน ( เพื่อนช่วยเพื่อน) ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.1/3.
คณะผู้จัดทำ นายอรรถวัฒน์ ราชา นายสุรพล ยอดคำลือ
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ โดย นางสาวพรรัมภา ชูรักษ์
การพัฒนากระบวนการอ่านในรายวิชาภาษาไทย ของนักศึกษาสาขา ช่างยนต์
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
ผู้วิจัย นางสาวจินตนา เชื้อเมืองพาน
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ วิชาไมโครคอนโทรเลอร์ โดยใช้สื่อการเรียนการสอนเรื่อง ไมโครคอนโทรลเลอร์ควบคุม 7 Segment สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
นางสาววาสนา เก่าพิมาย
โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางสาวปัทมา ปวงหล้า วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ชื่อเรื่อง การแก้ปัญหานักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์ในรายวิชา โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึ่มของนักศึกษาปวส. 1/2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจสงขลา โดยใช้วิธีการสอนแบบร่วมมือ.
นายสุชาติ ประวัติ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค)
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้

การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
นางสาวอัญชลี คำแปง วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
นายณัฐกร กันทะศรี วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
การใช้โปรแกรม GSP พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาหม้อแปลงไฟฟ้า เรื่องการสร้างหม้อแปลงไฟฟ้าขนาดเล็ก ด้วยกิจกรรมแบบเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
นายวีระชัย ทะจันทร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
การพัฒนาการเรียนผ่านนวัตกรรมการเรียนรู้ด้วยบทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน html ประกอบวิชา กิจกรรมวิชาการ 2 สำหรับนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
เรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ของ ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผู้เรียนวิชาศึกษาทั่วไปกับ การทำโครงงานในรายวิชาระบบ ฐานข้อมูลของนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเครื่องส่งวิทยุและสายอากาศ เรื่อง วงจรเรโซแนนท์ โดยใช้ชุดฝึกเครื่องส่งวิทยุ AM. ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
การสร้างและพัฒนาชุดฝึกทักษะ การแก้โจทย์ปัญหา เรื่อง อนุพันธ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
นายเสกสรรค์ ปัญญาฐานะ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
***นำเสนอผลงานวิจัย***
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
การแก้ปัญหาการขาดเรียน ในรายวิชาโครงการ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาการบัญชี
ศึกษาผลสัมฤทธิ์การใช้ ชุดฝึกเสริมทักษะรายวิชา บัญชีเบื้องต้น 1 สำหรับ นักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปี ที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีระยอง บริหารธุรกิจ ผู้วิจัย.
คณะผู้จัดทำ นาย ชาญชัย คุณยศยิ่ง นาย จีรศักดิ์ ฝั่งมณี
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย โดยจัดกิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ ด้วยวิธี STAD ของนักเรียน 501 สาขางานการบัญชี
ชื่อเรื่อง ศึกษาผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะ การเขียน เรื่องชนิดของคำ วิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1.
การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( )
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้โปรแกรมพิมพ์ดีดอังกฤษด้วยคอมพิวเตอร์ที่มีผลต่อการมองแป้นขณะพิมพ์ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 (ปวช.1)
ชื่อเรื่อง บทเรียนการสอนโดยใช้ E-Learning วิชาบัญชีต้นทุน 1 ของ นักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาความสามารถในการผลิตสื่อเพื่อการสื่อสารทางการตลาดโดยเน้นการฝึกปฏิบัติจริงในรายวิชาการสื่อสารทางการตลาดของนักศึกษา ชั้นปีที่ 2.
นางสาวถนอมนวล ฐาปนพงษ์ไพบูลย์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
ชื่อผลงานวิจัย : การพัฒนารูปแบบการเรียน การสอนผ่านเครือข่าย คอมพิวเตอร์เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.2 แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ วิทยาลัย.
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาแบบฝึกทักษะแก้ปัญหาทางสถิติเรื่องตารางแจกแจงความถี่ สำหรับนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ”
นางสาวพัชราภรณ์ สาตะสาร
ผลการใช้ CAI กับแบบเรียนตาม ศักยภาพในการสอนนักศึกษาซ่อม เสริมในรายวิชาธุรกิจทั่วไป ประจำภาคเรียนฤดูร้อน ปีการศึกษา 2553 แผนกพณิชยการฯ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลาน.
การสร้างชุดสาธิตอาการเสียแอลซีดีมอนิเตอร์
ชื่อผู้วิจัย ประชิด เกิดมาก
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การป้อนสมการและสูตรทางคณิตศาสตร์ ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ในรายวิชา การใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา
วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางสาวอมรรัตน์ ท่วมแก้ว
ชื่อเรื่องวิจัย. การส่งเสริมพฤติกรรมการแสดงออกของนักศึกษาระดับชั้นปวช
ผู้วิจัย นางสาวนิตญา จุทาชื่น วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ
ชื่อผู้วิจัย ว่าที่ร้อยตรีหญิง ภรณ์ทิพย์ เทพธีระชัย สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนา พณิชยการ เชียงใหม่
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชามนุษยสัมพันธ์โดยใช้เทคนิคการทำงานเป็นทีม ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 ผู้วิจัย นางบุษกร.
วิชา เครื่องวัดไฟฟ้า รหัส
วิจัยในชั้นเรียน ผลการใช้กิจกรรมกลุ่มเพื่อแก้ไขพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ในรายวิชาช่างอุตสาหกรรม แผนก ช่างเทคนิคคอมพิวเตอร์ ประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา.
นายขวัญชัย ดวงทนัน วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การใช้สื่อการสอน “วงจรบัญชี”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผู้วิจัย : นายสิทธิชัย โกเสนตอ งานวิจัยเรื่อง การใช้วิธีการสอนแบบฝึกปฏิบัติ ในการสอนรายวิชาอิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม1 เรื่องโฟโต้ทรานซิสเตอร์ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 สาขางานอิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่ ผู้วิจัย : นายสิทธิชัย โกเสนตอ

ปัญหาที่พบคือ นักศึกษาส่วนใหญ่ไม่สามารถต่อวงจรได้ด้วยตัวเอง จำเป็นต้องมีคนคอยชี้แนะตลอด เมื่อได้รับคำชี้แนะ และวิธีการต่อวงจรรวมทั้งสาธิตให้ดู นักศึกษาที่ใช้ ความพยายามทำก็จะทำได้และนักศึกษาที่ต่อวงจรเป็น ประจำก็ต่อวงจรได้โดยไม่ต้องช่วยเหลือ จึงเป็นข้อ สังเกตุว่านักศึกษาที่ได้ฝึกปฏิบัติต่อวงจรอยู่เสมอจะต่อ ได้ คนที่ไม่มีโอกาสได้ต่อวงจรก็มักจะต่อไม่ได้

วัตถุประสงค์ เพื่อให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติต่อวงจรโฟโต้ทรานซิสเตอร์ จนสามารถต่อเองได้ เพื่อติดตามช่วยเหลือนักศึกษาห้อง ชอ.2102 ให้ สามารถต่อวงจรโฟโต้ทรานซิสเตอร์ได้ เพื่อศึกษาแนวคิดการนำวิธีการสอนแบบฝึกปฏิบัติมา ใช้ในการเรียนการสอน

การรวบรวมข้อมูล 1. แบบประเมินที่ใช้ในการทดสอบการต่อวงจรโฟโต้ทรานซิสเตอร์เป็นข้อสอบ มาตรฐานอิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม ของสาขางานอิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัย เทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่ 2. ให้นักศึกษาทดลองต่อวงจรโฟโต้ทรานซิสเตอร์ โดยมีเพื่อนและครูคอยชี้แนะ จากนั้นจัดให้มีการทดสอบในรอบที่ 1 โดยทุกคน (30 คน) ต้องเข้าสอบ แล้ว บันทึกผล 3. เมื่อสอบไม่ผ่านในรอบที่ 1 จะดำเนินการให้นักศึกษาไปฝึกปฏิบัติจนมั่นใจ จากนั้นจัดให้มีการทดสอบในรอบที่ 2 หากยังสอบไม่ผ่านจะให้นักศึกษาไปฝึก ปฏิบัติอีกครั้ง จากนั้นจัดให้มีการทดสอบในรอบที่ 3 หากไม่ผ่านรอบที่ 3 ถือ ว่าสอบไม่ผ่าน 4.เขียนสรุป, รายงานผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง “โฟโต้ทรานซิสเตอร์”

สรุปผลการวิจัย พบว่าค่าเฉลี่ยจำนวนครั้งของการทดสอบจนสามารถสอบผ่าน (คิดเฉพาะคนสอบผ่าน) เท่ากับ 1.8 ครั้ง / คน ซึ่งแสดงให้เห็นว่าหากไม่เปิดโอกาสให้ฝึกปฏิบัติแล้วมาทดสอบ ใหม่ นักศึกษาจะไม่สามารถสอบผ่านได้ สอบผ่านรอบแรก 8 คน คิดเป็น 26.7 เปอร์เซนต์ คะแนนเฉลี่ย 85 คะแนน สอบผ่านรอบที่ 2 14 คน คิดเป็น 46.7 เปอร์เซนต์ คะแนนเฉลี่ย 68 คะแนน สอบผ่านรอบที่ 3 3 คน คิดเป็น 10 เปอร์เซนต์ คะแนนเฉลี่ย 68.3 คะแนน สอบไม่ผ่าน 5 คน คิดเป็น 16.6 เปอร์เซนต์ คะแนนเฉลี่ย 44.8 คะแนน รวม 30 คน ทดสอบผ่านทั้งหมด 25 คน คิดเป็น 83.4 เปอร์เซนต์ ทดสอบไม่ผ่านทั้งหมด 5 คน คิดเป็น 16.6 เปอร์เซนต์

ผลกระทบและประโยชน์ การวิจัยครั้งนี้พบว่า การใช้วิธีการสอนแบบฝึกปฏิบัติ เป็น นวัตกรรมทางการศึกษา ที่สามารถพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของนักเรียนให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้นได้ การใช้วิธีการสอนแบบฝึกปฏิบัติอาจใช้เวลามาก ดังนั้นตัว ผู้สอนและนักศึกษา อาจจะต้องใช้เวลาเพิ่มเติมจากการเรียน ปกติ ครูผู้สอนจะต้องบริหารเวลาให้เหมาะสม