กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

หลักเกณฑ์การวิเคราะห์ความเสี่ยง ตามหลักธรรมาภิบาล
สกาวรัตน์ พวงลัดดา สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
การปฏิบัติและจัดการงาน ให้มีประสิทธิภาพ
( สมุทรสงคราม สมุทรสาคร เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ )
Road Map เขตบริการสุขภาพที่ ๑๒
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
1. การดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ/คณะทำงาน
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
“โครงการอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555”
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 8 จังหวัดนครสวรรค์
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
การบริหาร ยุทธศาสตร์บูรณา การการป้องกันและ แก้ไขปัญหาเอดส์ ระดับจังหวัด กลุ่มผู้ติดเชื้อ เอชไอวี
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
1. แผนงาน PP จังหวัด ยังไม่ ตอบสนองปัญหาจริงของ จังหวัด แต่ละจังหวัดมีแผนที่ ชัดเจน และการใช้แผน แตกต่างกันมาก 2. การดำเนินงานจริง ไม่อิง ยุทธศาสตร์ /
สรุปการประเมินกระบวนการทำงานส่งเสริมสุขภาพ เรื่อง แผนบูรณาการในภาพรวม
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและ โอกาส พัฒนาในโครงการพัฒนา คุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ในภาพรวมของเขต สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 4 จ. ราชบุรี
โรงพยาบาล หน่วยบริการ.
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและ โอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนา คุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต เขต 8 นครสวรรค์ นครสวรรค์ กำแพงเพชร อุทัยธานี
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
สรุปการประชุม เขต 10.
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคสาธารณสุขเขต 10 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ทิศทาง การทำงาน๒๕๕๔ นพ.นิทัศน์ รายยวา 1.
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
เครือข่ายการ พัฒนา ทรัพยากร มนุษย์ สุริยะ วงศ์คง คาเทพ.
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาระบบบริการสุขภาพเพื่อให้ทุกคนใน จังหวัดชลบุรีมีหลักประกันสุขภาพ สามารถ เข้าถึงบริการสุขภาพ ที่มีคุณภาพ มาตรฐานสากล.
กลุ่ม A2 “ข้าวเด้ง”.
กลุ่มที่ 11.
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
โรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
กลุ่มที่ 5 และกลุ่มที่ 12. สรุปกระบวนการและ ข้อเสนอแนะ การนิเทศ รพ. สต. รอบที่ 1 เป็นแนวคิดที่เน้นการนิเทศงานแบบ กระบวนการทำงานของแต่ละพื้นที่ ซึ่งไม่มีรูปแบบตายตัว.
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 2 จังหวัดสระบุรี. แรงบันดาลใจ  การกระจายอำนาจให้แก่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นเข้ามามี บทบาทในการให้บริการ สาธารณะ  ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12 สรุปบทเรียน การพัฒนางานภาคีเครือข่าย เพื่อสนับสนุนอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12

สิ่งดีๆ 1. สัมพันธภาพกับเครือข่าย มีการบูรณาการร่วมกับเครือข่ายที่เกี่ยวข้องในมิติภาระโรคได้ดี ความสัมพันธ์ส่วนตัวเข้มแข็ง การยอมรับจากภาคีเครือข่าย มีเครือข่ายที่เข้มแข็งหลากหลาย ความร่วมมือในการทำงานของทุกภาคส่วน เป็นการทำงานแบบมีส่วนร่วมกับทุกภาคส่วนอย่างแท้จริงตั้งแต่ ร่วมคิด ร่วมออกแบบ วางแผน ร่วมทำ ร่วมรับประโยชน์ได้ จนเครือข่ายเห็นเป็นภาพเดียวกัน 2.การสร้างเป้าหมายร่วมกัน มีเป้าหมายร่วมกันก่อนช่วยทำงานในพื้นที่ 3.เข้าใจความต้องการ/บริบท เข้าถึงสิ่งที่เขาต้องการ ต้องเข้าใจบริบทของเครือข่าย

ข้อจำกัด 1.คนภายในสำนักงานป้องกันควบคุมโรค 1.1 ขาดการบูรณาการ ขาดการบูรณาการกัน (ต่างคนต่างมองไม่ไปพร้อมกัน) ต้องอาศัยความร่วมมือของทีมงานในสำนักงานป้องกันควบคุมโรค 1.2 ภาระงาน บุคลากรมีน้อยในระดับสำนักงานป้องกันควบคุมโรค ขาดคนทำงานช่วงเทศกาล/วันหยุด ผู้ร่วมงานน้อย คนมีปริมาณน้อย และคุณภาพ (ไม่เข้าใจงาน) 1.3 การสื่อสาร สื่อสารไม่เข้าใจ ประชาชนยังคิดว่าปัญหาสุขภาพเป็นของสาธารณสุขเราต้องทำให้ปัญหาสุขภาพเป็นของทุกคนจึงจะสำเร็จ วิเคราะห์เครือข่ายไม่ได้ไม่ครอบคลุม

ข้อจำกัด (ต่อ) 2.เครือข่าย (เครือข่ายภาคสาธารณสุขและเครือข่ายภาคส่วนอื่นๆ) ภาระงานของเครือข่าย / ภาระงานรุมเร้าของหน่วยงานเป้าหมาย ขาดบุคลากรในการทำงาน คนไม่เข้าใจแนวคิดอำเภอฯ /เป้าหมายคนละเป้าหมาย กรอบแนวคิด/ความต้องการ เครือข่ายไม่เห็นความสำคัญของงาน 3.ทิศทางนโยบาย รายละเอียด แนวปฏิบัติ ความล่าช้าของเกณฑ์ที่มีการปรับเปลี่ยน ไม่นิ่ง

ข้อจำกัดที่เลือกเพื่อปรับปรุง บุคลากรภายในสำนักงานป้องกันควบคุมโรค ภาระงาน ทัศนคติ เครือข่าย ความเข้าใจ ทัศนคติ

ข้อจำกัด สาเหตุ แนวทางการพัฒนา 1.คนภายในสำนักงานป้องกันควบคุมโรค 1.1 ขาดการทำความเข้าใจของแต่ละกลุ่มงาน เนื่องจากเวลาไม่ตรงกัน 1.2 แนวคิด/ทัศนคติของคน (อัตตา) 1.3 ไม่เห็นความสำคัญของงานนอกกลุ่ม 1.4 ความเข้าใจในงานของแต่ละคนไม่เท่ากัน 1.5 ภาระงานและตัวชี้วัด ต้องทำงานเพื่อตอบตัวชี้วัดสำนักฯ/กรมฯ 1.6 ขาดการชี้แจงความเข้าใจและเชื่อมโยง (ไม่ชัดเจน/เพียงพอ) 1.7 ผลกระทบจากนโยบาย แนวปฏิบัติที่ส่วนกลางจัดทำ (เกณฑ์) ล่าช้า 1.ผู้บริหารสคร.ต้องเปิดโอกาสให้มีเวทีชี้แจงเชื่อมโยงงานในทุกยุทธศาสตร์/โรคที่เกี่ยวข้อง 2. บูรณาการตัวชี้วัดระดับกรมฯ สำนักฯควรลดตัวชี้วัด 3.พัฒนาศักยภาพของสคร.ด้านการคิดเชิงวิเคราะห์/คิดเชิงระบบ ด้านการจัดการ/พัฒนาเครือข่าย (กระตุ้นสร้างแรงจูงใจให้เกิดการมีส่วนร่วม การทำงานเป็นทีม)

2.เครือข่าย (เครือข่ายภาคสาธารณสุขและเครือข่ายภาคส่วนอื่นๆ) 2.1ภาระงาน ข้อจำกัด สาเหตุ แนวทางการพัฒนา 2.เครือข่าย (เครือข่ายภาคสาธารณสุขและเครือข่ายภาคส่วนอื่นๆ) 2.1ภาระงาน ภาระงานของเครือข่าย ขาดบุคลากรในการทำงาน ความรู้สึกเป็นเจ้าของ ในการแก้ปัญหาพื้นที่ 1.ผลักดันให้เป็นตัวชี้วัดระดับจังหวัดโดยผู้ว่าราชการจังหวัด 2.บูรณาการระดับกระทรวง (ส.) 3.มีเครื่องมือใช้ในการดำเนินงานของพื้นที่ 4. สื่อสารสาธารณะให้เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายอย่างต่อเนื่อง เกิดความตระหนักรู้ ปฏิบัติจริง 5.เป้นพี่เลี้ยง ที่มีศักยภาพเพียงพอ คิดวิเคราะห์งานให้กับรพช./รพ.สต. พัฒนาทักษะให้กับเครือข่าย ได้ 7.ใช้หลักการบริหารเวลากับภารกิจ (จัดลำดับความสำคัญ/เร่งด่วนของงาน)

ขอบคุณทุกกำลังความคิด ชี้แนะ เพื่อพัฒนางานให้ดียิ่งขึ้นไป