วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ รูปแบบการบริหารงานโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในการพัฒนางานวิชาการอย่างมีคุณภาพตามบริบท : วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ นายอาทิตย์ ประสาทแก้ว ตำแหน่ง รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ปัญหาการวิจัย การศึกษาต้องบรรลุเป้าหมายในการสร้างบุคคลแห่งการเรียนรู้ องค์กรแห่งการเรียนรู้ และสังคมแห่งการเรียนรู้เพื่อเป็นองค์ประกอบสำคัญในการขับเคลื่อนกระบวนการพัฒนาและยกระดับการศึกษาได้(กระทรวงศึกษาธิการ, 2542, หน้า 2) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 พุทธศักราช 2550–2554 ได้กำหนดให้การพัฒนาคุณภาพคนเป็นเป้าหมายในการพัฒนาประเทศ ดังนั้นจึงเป็นหน้าที่ของทุกภาคส่วนที่จะร่วมกันพัฒนาคนไทยให้มีคุณภาพ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ จึงได้มีการบริหารงานโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในการพัฒนางานวิชาการเพื่อให้เกิดความใกล้ชิดกับผู้ปกครอง และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย โดยร่วมกันพัฒนาการศึกษาให้มีคุณภาพ เน้นผลที่เกิดประโยชน์สูงสุดต่อการพัฒนาผู้เรียนเต็มศักยภาพ
ผังสรุปสาระสำคัญระบบคุณภาพงานวิชาการ วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษารูปแบบการบริหารงานโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในการพัฒนางานวิชาการอย่างมีคุณภาพตามบริบท : วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ ผังสรุปสาระสำคัญระบบคุณภาพงานวิชาการ สถานศึกษา คุณภาพ นักศึกษา คุณภาพ หัวหน้า คุณภาพ อาจารย์ คุณภาพ ที่มา : (QUALITY MODEL P.L.C.)
ผังสรุปการประเมินคุณภาพงานวิชาการ สถานศึกษา คุณภาพ หัวหน้า คุณภาพ นักศึกษา คุณภาพ อาจารย์ คุณภาพ คุณภาพของหัวหน้า (3 เก่ง) วัดจากผลงานของอาจารย์และ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา คุณภาพของอาจารย์ (3ดี) วัดจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา คุณภาพของนักศึกษา (2 มี) ตามเกณฑ์ประกันคุณภาพภายใน/ภายนอก ที่มา : (QUALITY MODEL P.L.C.)
การวิเคราะห์ข้อมูลสำคัญ ตามระดับคุณภาพของหัวหน้างาน/หัวหน้าสาขา การวิเคราะห์ข้อมูลสำคัญ ตามระดับคุณภาพของหัวหน้างาน/หัวหน้าสาขา ข้อ รายการ S.D. ระดับคุณภาพ 1 เป็นตัวอย่างที่ดีให้กับเพื่อนร่วมงาน 4.54 0.54 มากที่สุด 2 เป็นตัวอย่างที่ดีให้กับผู้ใต้บังคับบัญชา 4.55 0.55 3 เป็นตัวอย่างที่ดีให้กับนักศึกษา 5.00 0.00 4 ชี้แนะแนวทางให้กับเพื่อนร่วมงานได้ 4.45 มาก 5 ชี้แนะแนวทางให้กับผู้ใต้บังคับบัญชาได้ 3.78 6 ชี้แนะแนวทางให้กับนักศึกษาได้ 7 พัฒนาตนจนเป็นแบบอย่างให้กับเพื่อนร่วมงาน 4.76 8 พัฒนาตนจนเป็นแบบอย่างให้กับผู้ใต้บังคับบัญชา 4.72 9 พัฒนาตนจนเป็นแบบอย่างให้กับนักศึกษา 4.61 0.51 10 มีความคงทนและความต่อเนื่องในการรักษาคุณภาพ 4.79 เฉลี่ยรวม 4.62 0.43 1 1 3 2
การวิเคราะห์ข้อมูลสำคัญ ตามระดับคุณภาพของอาจารย์ การวิเคราะห์ข้อมูลสำคัญ ตามระดับคุณภาพของอาจารย์ ข้อ รายการ S.D. ระดับคุณภาพ 1 จัดกิจกรรมดี 4.50 0.51 มากที่สุด 2 เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาดี 4.45 0.52 มาก 3 สอนดี 4.44 0.54 เฉลี่ยรวม 4.46 การวิเคราะห์ข้อมูลสำคัญ ตามระดับคุณภาพของนักศึกษา ข้อ รายการ S.D. ระดับคุณภาพ 1 เป็นคนดี 4.54 0.55 มากที่สุด 2 เป็นคนที่ได้รับการยอมรับจากผู้อื่น 4.51 0.52 3 เป็นคนมีความรู้ 4.34 0.54 มาก เฉลี่ยรวม 4.46 0.53
การวิเคราะห์ข้อมูลสำคัญ ตามระดับคุณภาพของนักศึกษา การวิเคราะห์ข้อมูลสำคัญ ตามระดับคุณภาพของนักศึกษา ข้อ รายการ S.D. ระดับคุณภาพ 1 เป็นคนดี 4.54 0.55 มากที่สุด 2 เป็นคนมีความรู้ 4.34 0.54 มาก เฉลี่ยรวม 4.46 0.53
สรุปผลการวิจัย ระดับคุณภาพของหัวหน้างาน/หัวหน้าสาขา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด พิจารณาเป็นรายข้อ สรุปได้ดังนี้ ลำดับที่ 1 ได้แก่ เป็นตัวอย่างที่ดีให้กับนักศึกษา, ชี้แนะแนวทางให้กับนักศึกษาได้ ลำดับที่ 2 ได้แก่ มีความคงทนและความต่อเนื่องในการรักษาคุณภาพ ลำดับที่ 3 ได้แก่ พัฒนาตนจนเป็นแบบอย่างให้กับเพื่อนร่วมงาน ระดับคุณภาพของอาจารย์ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก พิจารณาเป็นรายข้อ สรุปได้ดังนี้ ลำดับที่ 1 ได้แก่ จัดกิจกรรมดี ลำดับที่ 2 ได้แก่ เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาดี ลำดับที่ 3 ได้แก่ สอนดี ระดับคุณภาพของนักศึกษา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก พิจารณาเป็นรายข้อ สรุปได้ดังนี้ ลำดับที่ 1 ได้แก่ เป็นคนดี ลำดับที่ 2 ได้แก่ เป็นคนมีความรู้
พิธีเปิดดำเนินกิจกรรมให้กับนักศึกษา ภาพประกอบ พิธีเปิดดำเนินกิจกรรมให้กับนักศึกษา
มอบเกียรติบัตรให้กับนักศึกษาหลังดำเนินกิจกรรมฯ ภาพประกอบ มอบเกียรติบัตรให้กับนักศึกษาหลังดำเนินกิจกรรมฯ