นวัตกรรม7สี ปันรัก ไกลโรค ปี2556

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Service Plan สาขา NCD.
Advertisements

แนะนำคู่มือเพื่อการป้องกันและดูแลปัญหาการฆ่าตัวตายสำหรับ อสม
นำเสนอโดย นางสงวนศรี พลดอน พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลปัตตานี
การจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพพื้นที่ : จังหวัดลำพูน
ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
บทเรียน Best Practice ของระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
การพัฒนาศักยภาพ อสม. ปี 2554
ความหมายและกระบวนการ
การดำเนินงานตำบลจัดการสุขภาพ ตำบลเขาซก อำเภอหนองใหญ่ ชลบุรี
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
สวัสดีครับ.
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
ผลการพัฒนาระบบการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
วันที่ถ่ายทอด มีนาคม 2548 สถานที่ถ่ายทอด โรงแรมเทวราช อ.เมือง จ.น่าน
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การประชุมเชิงปฏิบัติการใช้ค่ากลาง
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
งานโรคไม่ติดต่อ กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
การสร้างแผนงาน/โครงการ
โรคหลอดเลือดสมองเสื่อม
นพ.วินัย ศรีสอาด สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
ภารกิจ อสม.งานประจำ/งานนโยบาย
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
บุคลากรของเรา นวก.สาธารณสุข 3 คน พยาบาลเวชปฏิบัติ 2 คน
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
โดย เสาวลักษณ์ สัจจา กลุ่มงานเวชกรรมสังคม รพ.หนองคาย
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
เพิ่มภาพ แผนที่ตำบล หรือภาพกิจกรรมชมรมสูงอายุในพื้นที่
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
บทบาท อสม.เชิงรุก ๑. เป็นผู้นำทางความคิดและผู้นำทางด้านสุขภาพในระดับชุมชน ในการลดโรค ๕ โรคสำคัญที่เป็นสาเหตุการตายลำดับต้นๆของประชาชน คือ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง.
สรุปโครงการอบรมพัฒนาศักยภาพ อสม.ปี 2550
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
โครงการในปีงบประมาณ 2558.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
แนวทางการดำเนินงานสุขภาพจิต กลุ่มวัยทำงาน
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
สกลนครโมเดล.
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดโรคและภัยสุขภาพ รอบ 5 เดือน ( ตุลาคม กุมภาพันธ์ 2554 )
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ จังหวัดอุบลราชธานี นางปริญญา ผกานนท์ นักวิชาการสาธารณสุข 8 ว.
การบริหารจัดการค่าย เพื่อให้เกิดความสะดวก มี ความพร้อม ไม่เกิดความเสี่ยง ต่างๆ และเพื่อให้การดำเนินค่ายบรรลุ เป้าหมายที่ตั้งไว้อย่างมีประสิทธิภาพ.
กลุ่มที่ 5 และกลุ่มที่ 12. สรุปกระบวนการและ ข้อเสนอแนะ การนิเทศ รพ. สต. รอบที่ 1 เป็นแนวคิดที่เน้นการนิเทศงานแบบ กระบวนการทำงานของแต่ละพื้นที่ ซึ่งไม่มีรูปแบบตายตัว.
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
หน่วยงานภาครัฐ, อปท. และเอกชนมีสนับสนุน งบประมาณ, ประสานงาน กัน อย่างต่อเนื่องและ เข้มแข็ง ( นาจอมเทียน, บางเสร่, พูลตาหลวง, แสมสาร, สัตหีบ ) มีระบบข้อมูลที่มี
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นวัตกรรม7สี ปันรัก ไกลโรค ปี2556 นำเสนอโดย นางพาณี วิชยศิลปศรี

นวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์ ประเภทนวัตกรรม นวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์

ความเป็นมาของนวัตกรรม จากแนวคิดการคัดกรองประชาชน อายุ 15-65 ปีขึ้นไป ตามแนวทางปิงปองจราจรชีวิต 7 สี ภายใต้ระบบการเฝ้าระวัง ควบคุม ป้องกัน โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ในประเทศไทย เพื่อส่งเสริมให้พื้นที่นำสู่การปฏิบัติจริงได้อย่างสอดคล้องเชื่อมโยงอย่างเหมาะสมสู่การปฏิบัติที่เป็นรูปธรรม โดยเน้นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3อ. (อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์) 2ส. (เหล้า บุหรี่) ในการควบคุม ป้องกันโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคสมอง โรคไตวาย โรคมะเร็ง จากการปฏิบัติดังกล่าวทำให้ผู้คัดกรอง (อสม.) และเจ้าหน้าที่สับสนกับการแยกสี การเชื่อมโยงพฤติกรรมและแนวทางการปฏิบัติ ด้วยเหตุผลดังกล่าวจึงได้คิดวิธีการที่สะดวก รวดเร็วและถูกต้องในการคัดกรอง

ความเป็นมาของนวัตกรรม(ต่อ) รพ.สต.น้ำจืดน้อย มีกลุ่มเป้าหมายที่ต้องคัดกรอง ในการคัดกรอง ดังกล่าว รพ.สต.น้ำจืดน้อยได้คัดกรองมีปัญหากับการแยกสีต่างๆต้องเปิดคู่มือ ทำให้ยากต่อการประเมิน จึงปรับปรุงเครื่องมือขึ้นมาใช้ เป้าหมาย สีขาว เขียวอ่อน เขียว เหลือง ส้ม แดง ดำ 1559 1396 51 93 3 7 4 5

วัตถุประสงค์ 1.พัฒนาศักยภาพ อาสาสมัครสาธารณสุข ผู้นำชุมชน ญาติผู้ป่วย ให้สามารถตรวจวัดความดันโลหิตเพื่อช่วยค้นหาผู้ป่วยและสามารถติดตาม ตรวจวัดตามบ้านได้ 2.กลุ่มเป้าหมายอายุ15 ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองและจัดกลุ่มติดตามได้ทั่วถึง

กระบวนการพัฒนานวัตกรรม 1. ศึกษาปัญหาสุขภาพเนื่องจากการออกคัดกรองความดัน-เบาหวานเมื่อได้ค่าที่คัดกรองได้แล้วต้องนำมาแปรผลเพื่อแยกเป็นกลุ่ม 7กลุ่ม 2. ออกแบบนวัตกรรมโดยวัสดุที่หาง่ายและที่เหลือใช้คือขอบริจาคแผ่น CD พร้อมกล่องพิมพ์ ติดสติกเกอร์7สี ปันรัก ไกลโรค เพื่อหมุนผลค่าความดัน-หรือค่าเบาหวานตามแถบสีแล้วให้คำแนะนำตามตารางด้านข้างกล่อง

ขั้นตอนการดำเนินงาน

ขั้นตอนการดำเนินงาน

ขั้นตอนการดำเนินงาน

ขั้นตอนการดำเนินงาน

ขั้นตอนการดำเนินงาน

ขั้นตอนการดำเนินงาน

ขั้นตอนการดำเนินงาน

ขั้นตอนการดำเนินงาน

ขั้นตอนการดำเนินงาน

กระบวนการพัฒนานวัตกรรม (ต่อ) 3. ทดลองใช้ โดยการให้อสม.จำนวน64 คน เพื่อนำไปใช้กับกลุ่มเป้าหมายที่ดูแลแล้วลงผลการบันทึกตามตารางการประเมินที่ใช้ 4. การประเมินการทดลองใช้กลุ่มเป้าหมาย64 คนมีความพึงพอใจ 62 คนคิดเป็นร้อยละ96.88 5.ปรับปรุง/แก้ไข้ส่วนขาด

ขั้นตอนการดำเนินงาน

ขั้นตอนการดำเนินงาน

การนำไปใช้ประโยชน์

ประโยชน์และคุณค่าของนวัตกรรม 1. ผลที่เกิดกับหน่วยงาน - หน่วยงานมีการพัฒนาระบบการสื่อสารความรู้ความเข้าใจในการคัดกรองความดันโลหิตสูง- เบาหวาน ดียิ่งขึ้น - เกิดอาสาสมัคสาธารณสุขเชี่ยวชาญในการคัดกรองและร่วมออกให้บริการเยี่ยมบ้านกับเจ้าหน้าที่อย่างครอบคลุมทั่วถึงกลุ่มเป้าหมาย

ประโยชน์และคุณค่าของนวัตกรรม 2. ผลที่เกิดกับชุมชน - กลุ่มเป้าหมายอายุ 15ปีขึ้นไป มีความรู้ความเข้าใจ เรื่องการการคัดกรอง และมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้อย่างถูกต้องมากขึ้น - อสม. มีการพัฒนาระบบการสื่อสารความรู้ความเข้าใจด้านการคัดกรอง ด้วยการใช้โมเดล 7สี ปันรัก ไกลโรค เป็นอุปกรณ์สื่อการสอน - ประชาชนในชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแล สุขภาพตนเองและสมาชิกในครอบครัว - กลุ่มเป้าหมายได้รับบริการเยี่ยมบ้านเพื่อดูแลสุขภาพอย่างต่อเนื่อง

ประโยชน์และคุณค่าของนวัตกรรม 3. แนวทางในการพัฒนาต่อ - จัดหาโมเดล7สี ปันรัก ไกลโรค ให้ครอบคลุมทุกชุมชนในเขตตำบลน้ำจืดน้อย - เผยแพร่ความรู้ให้แก่ชุมชนอื่น และเน้นการสร้างเครือข่ายไปยังตำบล อำเภออื่นต่อไป - ประเมินการใช้นวัตกรรม และประเมินความพึงพอใจของสมาชิกชมรมต่อการใช้นวัตกรรม เพื่อการพัฒนา

การประยุกต์ใช้กับงานเยี่ยมบ้าน -ในการคัดกรองของอสม.แต่ละคน จะมีแบบบันทึกผลการคัดกรอง แบบคัดกรองความดันโลหิตสูง-เบาหวาน ในกลุ่มอายุ15 ปีขึ้นไป อสม.. บุญส่ง ธนบัตร.......................   ที่ ชื่อ-สกุล อายุ ที่อยู่ ผลการคัดกรอง ปกติ เสี่ยง กินยา ป่วย1 ป่วย2 ป่วย3 โรคแทรกซ้อน 1 นายขิน ธนบัตร 90 87ม.5 130/78 2 นส.บุญส่ง ธนบัตร 54 117/70 3

สื่อนวัตกรรม 7สี ปันรัก ไกลโรค การประเมินนวัตกรรม ความพึงพอใจต่อสื่อนวัตกรรม 7สี ปันรัก ไกลโรค คำชี้แจง กรุณาทำเครื่องหมาย  ในช่องระดับความพึงพอใจที่ตรงกับความคิดเห็นของท่าน   สื่อนวัตกรรม 7สี ปันรัก ไกลโรค ระดับความพึงพอใจ 1 2 3 4 5 1. ความสวยงาม น่าสนใจ 2. ความเหมาะสมของภาพประกอบ 3. ความเหมาะสมของเนื้อหา 4. ความรู้ที่ได้รับนำไปใช้ประโยชน์ ด้านสุขภาพได้ 5. ความพึงพอใจในภาพรวมของนวัตกรรม ความคิดเห็นอื่นๆ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ขอบคุณในความร่วมมือ รพ.สต.น้ำจืดน้อย

คัดลอกมาฝาก

ขอบคุณและสวัสดี