กลุ่มวิสาหกิจชุมชนหนองยางไคลพัฒนา อำเภอแม่ทา จังหวัดลำพูน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามกุฎราชกุมาร นางลาวัลย์ ฉัตรวิรุฬห์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์เกษตร.
Advertisements

ประเด็นเน้นหนัก โครงการส่งเสริมและพัฒนาวิสาหกิจชุมชน 2550
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชุมชน ปี ๒๕๕๗
การวางแผน ธุรกิจ เป็นกระบวนการ บริหารจัดการทาง การเงินที่สำคัญของ คณะกรรมการกองทุน หมู่บ้าน.
งานกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจสหกรณ์ ผลงาน ณ เดือน มกราคม 2552.
การทำความเข้าใจกับงบทดลอง
กลุ่มที่ 1 การส่งเสริมสหกรณ์ให้ผ่านเกณฑ์ข้อ 1
เขาวังคู่บ้าน ขนมหวาน เมืองพระ เลิศล้ำศิลปะ แดนธรรมะ ทะเลงาม
โครงการศูนย์สาธิตสหกรณ์โครงการหุบกะพง
กลุ่มที่ 4 เกณฑ์ชี้วัดมาตรฐาน กลุ่มเกษตรกร ๕ ข้อ
แผนงาน/โครงการที่สำคัญของกรมส่งเสริมสหกรณ์
สรุปแผน/ผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
งานกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจสหกรณ์ ผลงาน ณ เดือน กุมภาพันธ์ 2552.
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
โครงการ ลำไยสีทองล้านนา
ขั้นตอน/วิธีการปฏิบัติตามคู่มือสำนักงานคณะกรรมการกระจายอำนาจ ฯ
สมาชิกกลุ่มที่ 1 นางวันเพ็ญ มหาชัย อ.วังวิเศษ จ.ตรัง ประธาน
กลุ่ม 3 ผู้นำเสนอ นายปรีชา คงเกลี้ยง เกษตรอำเภอเมืองชลบุรี
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
จุดอ่อน คณะกรรมการศูนย์ฯ ได้รับเบี้ยประชุมน้อย ขาดสวัสดิการ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายวิชุล บุญสิม
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายเพิ่มพูน มาประกอบ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายเชิด ชูจิ๋ว
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลช้างทูน อำเภอบ่อ ไร่ จังหวัดตราด.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กลุ่มวิสาหกิจชุมชนปรับปรุงมะม่วงคุณภาพดีเพื่อการส่งออกมงคลธรรมนิมิต
งานส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน
พรบ.ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน
การดำเนินงานวิสาหกิจชุมชนจังหวัดลำพูน
ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนตามแนวพระราชดำริ (โรงเรียนแก้จนคนท้องถิ่น อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่)
โครงการพัฒนาระบบการผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์ดี
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและ ได้มาตรฐาน ปีงบประมาณ 2553
การถ่ายโอนภารกิจของกรมส่งเสริมการเกษตร ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การจัดทำฐานข้อมูลการผลิตและการตลาดของสมาชิก
ผู้ช่วยเลขา สามารถจัดตั้งกองทุนพัฒนา อาชีพการเกษตร เพื่อช่วยเหลือ เกษตรกรเป็น แบ่งการบริหาร ลงในกลุ่มรับผิดชอบทั้งหมด 5 กลุ่ม คือ 1. กองทุนพันธุ์สัตว์
สรุปผลการดำเนินงาน สพอ.เดิมบางนางบวช ระหว่างวันที่ ตุลาคม 2557
ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนตามแนวพระราชดำริ (โรงเรียนแก้จนคนท้องถิ่น อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่)
ภารกิจจัดที่ดิน ปีงบประมาณ 2553
ผลการดำเนินงานวิจัยกลุ่มวิสาหกิจชุมชน จังหวัดตรัง
กลุ่มที่ 5 และกลุ่มที่ 12. สรุปกระบวนการและ ข้อเสนอแนะ การนิเทศ รพ. สต. รอบที่ 1 เป็นแนวคิดที่เน้นการนิเทศงานแบบ กระบวนการทำงานของแต่ละพื้นที่ ซึ่งไม่มีรูปแบบตายตัว.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
สถานการณ์การดำเนินงานวิสาหกิจชุมชน กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบึงหลุมบัว
แนวคิดและหลักการส่งเสริมการตรวจสุขภาพ รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
เกษตรอินทรีย์ชีวภาพบ้านตะโกสิงห์หมู่ 9 ตำบลอีสานเขต
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
ระดับกระทรวง / กลุ่มภารกิจ / กรม
กิจกรรมพัฒนาตลาดและเครือข่ายการผลิต
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปี การส่งเสริมพัฒนากลุ่ม อาชีพ ( พื้นฐาน ) เจ้าภาพ กพส. ดำเนินการแล้วอยู่ระหว่างดำเนินการยังไม่ดำเนินการ สนับสนุนปัจจัยการผลิต.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลุ่มวิสาหกิจชุมชนหนองยางไคลพัฒนา อำเภอแม่ทา จังหวัดลำพูน 111/2 หมู่ 4 ตำบลทาทุ่งหลวง อำเภอแม่ทา จังหวัดลำพูน รหัสทะเบียน 6-51-02-05/1-003 โทรศัพท์ 0-5357-4699 089-8541199

1.สถานการณ์การดำเนินงานของวิสาหกิจชุมชน(วสช.) 1.1 ประวัติความเป็นมา 1.1 ประวัติความเป็นมา  เดิมชื่อกลุ่มสตรีสหกรณ์หนองยางฟ้า-หนองยางไคล  ก่อตั้งเมื่อปี 2537 โดยการสนับสนุนจากสำนักงานสหกรณ์ อำเภอแม่ทา  รวมตัวเพื่อแปรรูปผลผลิตเกษตร การทำน้ำพริกตาแดง  จดทะเบียนเป็นวิสาหกิจชุมชน ปี 2548 มีสมาชิก 22 ราย  ปัจจุบันมีสมาชิกเพิ่ม 60 คน มีการระดมหุ้นๆละ 100 บาท เป็นเงิน 35,400 บาท

1.สถานการณ์การดำเนินงานของวิสาหกิจชุมชน(วสช.) 1.2 การบริหารงานวิสาหกิจชุมชน คณะกรรมการวิสาหกิจชุมชน 7 คน ฝ่ายจัดซื้อวัตถุดิบ ฝ่ายตลาด ฝ่ายควบคุมการผลิต ฝ่ายการเงินและบัญชี สมาชิก ปัจจุบัน 60 คน ลงหุ้น ๆละ 100 บาท เป็นเงิน 35,400 บาท กฎระเบียบวิสาหกิจชุมชน - มีระเบียบข้อบังคับของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน 35 ข้อ - ประกอบด้วยทั้งเรื่องของการบริหารจัดการการกลุ่ม สมาชิก คณะกรรมการเงินออม การแบ่งปันผลประโยชน์

สมาชิก 50 % คณะกรรมการ 20 % สมทบกองทุน 10% สาธารณประโยชน์ 5% 1.สถานการณ์การดำเนินงานของวิสาหกิจชุมชน(วสช.) การแบ่งปันผลประโยชน์ สมาชิก 50 % คณะกรรมการ 20 % สมทบกองทุน 10% สาธารณประโยชน์ 5% ศึกษาดูงาน 10%

กิจกรรมกลุ่มวิสาหกิจชุมชน ปี 2551 แปรรูปลำไยอบแห้งเนื้อสีทอง 2,000 กก. แปรรูปน้ำพริกลาบ 4,000 ขวด แปรรูปน้ำพริกตาแดง 5,000 กระป๋อง แปรรูปทำแหนมหมู 200 กิโลกรัม ขนมทองพับลำไย

แผนพัฒนาวิสาหกิจชุมชน 1.ฝึกอบรมความรู้ผลิตภัณฑ์ตัวใหม่ -ขนมทองม้วน ทองพับจากลำไย -ข้าวแต๋นน้ำลำไย -ขนมอบ (เค้กลำไย คุกกี้ลำไย ขนมปัง) 2. จัดสร้างโรงเรือนแปรรูป 1 หลัง งบองค์การบริหารส่วนตำบล 300,000 บาท 3. จัดสร้างเตาตากลำไยพลังแสงอาทิตย์ งบจากสหกรณ์จังหวัดลำพูน 99,000 บาท

แผนพัฒนาวิสาหกิจชุมชน 4. จัดทำโครงการของบประมาณฝึกอบรม ความรู้จากการทำขนมจากสำนักงานพัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษย์และศึกษาจาก กศน. 5. จัดทำป้ายสลากผลิตภัณฑ์และกล่องบรรจุภัณฑ์ (ลำไย) งบประมาณจากกรมส่งเสริมการเกษตร โครงการส่งเสริมและพัฒนาองค์กรเกษตรกรและ เครือข่ายปี 2551 กิจกรรมพัฒนาการแปรรูป ผลผลิตเกษตร งบประมาณ 20,000 บาท

2. การดำเนินงานของเจ้าหน้าที่ระดับอำเภอ,ตำบล ในการดำเนินงานวิสาหกิจชุมชน 2.1 ขั้นตอนและวิธีการดำเนินงาน -ศึกษาและทำความเข้าใจใน พรบ.ส่งเสริม วิสาหกิจชุมชน พ.ศ. 2548 -ประชาสัมพันธ์เชิญชวนการจดทะเบียนวิสาหกิจ ชุมชนทุกรูปแบบ -รับจดทะเบียนวิสาหกิจชุมชนและเครือข่าย ณ สำนักงานเกษตรอำเภอ -ประเมินศักยภาพวิสาหกิจชุมชน -ส่งเสริมและสนับสนุนกิจการวิสาหกิจชุมชน -ขับเคลื่อนผ่านคณะอนุกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน

2. การดำเนินงานของเจ้าหน้าที่ระดับอำเภอ,ตำบล -ส่งเสริมการจัดทำแผนพัฒนาวิสาหกิจชุมชน โดย การจัดทำเวทีเรียนรู้ -ประสานงานและบูรณาการกับหน่วยงานภาคีที่ เกี่ยวข้องและ อปท. -เยี่ยมเยียน ติดตามผล การดำเนินงานของวิสาหกิจชุมชน -ประชาสัมพันธ์ และเผยแพร่ผลงาน -ดำเนินงานตาม พรบ. ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน 2548 ทุกขั้นตอน

3. การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น 1. วิเคราะห์ SWOT -จุดแข็ง -ได้รับรางวัลดีเด่นด้านการบริหารจัดการด้าน บัญชี ปี 2550 ระดับจังหวัดและระดับภาคและรองชนะเลิศที่ 2 ระดับประเทศ -ผลิตภัณฑ์เป็นผลผลิตเกษตรที่มีในท้องถิ่น ราคาถูก -ผลิตภัณฑ์ได้มาตรฐาน อย. -ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากภาครัฐ และเอกชน -มีการระดมหุ้นจากสมาชิกทุกเดือน -กลุ่มได้รับการยอมรับจากชุมชน

3. การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น 1. วิเคราะห์ SWOT - จุดอ่อน -สมาชิกขาดความรู้ด้านการผลิต -ตลาดมีน้อย ไม่แน่นอน - คณะกรรมการบางคนรับผิดชอบหลาย ตำแหน่ง ไม่มีเวลา เข้าร่วมอบรม - สมาชิกส่วนใหญ่มีอาชีพรับจ้าง ไม่สามารถ ไม่เข้าร่วมกิจกรรมได้ทุกครั้ง

3. การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น 1. วิเคราะห์ SWOT @โอกาส -ผู้นำท้องถิ่นและคณะกรรมการหมู่บ้านให้การสนับสนุน -กลุ่มได้รับการสนับสนุนจาก อปท.

๑ข้อจำกัด - ด้านการตลาดมีจำกัด - ต้นทุนการผลิตสูงและราคาไม่แน่นอน

-พัฒนาสังคมฯ -พัฒนาชุมชน -อปท. -กศน. -ธกส. -สาธารณสุข ภาคีและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง -สหกรณ์ -ตรวจบัญชีสหกรณ์ -พัฒนาสังคมฯ -พัฒนาชุมชน -อปท. -กศน. -ธกส. -สาธารณสุข ปัญหาการทำงานของกลุ่ม -ตามจุดอ่อน และข้อจำกัดในการวิเคราห์ SWOT

แนวทางการพัฒนากลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มหนองยางไคลพัฒนา หมู่ 4 ตำบลทาทุ่งหลวง อำเภอแม่ทา จังหวัดลำพูน กิจกรรม ปัญหา แนวทางพัฒนา ลำไยอบแห้งเนื้อสีทอง 1.ผลิตภัณฑ์ยังไม่ได้รับรองมาตรฐาน อย. 2.ตลาดมีน้อย 3.บรรจุภัณฑ์ยังไม่ได้มาตรฐาน 1.ขอคำแนะนำจากสารสาธารณสุขจังหวัด 2.หาตลาดต่างจังหวัดออกงานจำหน่ายสินค้า 3.จัดทำป้ายฉลากและกล่องบรรจุลำไยโดยใช้งบกรมส่งเสริมการเกษตร ขนมทองม้วน ยังไม่มีความรู้การทำขนม 1.ขอวิทยากรจาก กศน.และพัฒนาสังคมฯ ขนมอบทุกชนิดที่มีส่วนผสมของลำไย 1.ยังไม่มีความรู้การทำขนมอบ 2.ขาดเครื่องมืออุปกรณ์ 1.ของบประมาณจากสำนักงานพัฒนาสังคมฯ และอบต.ทาทุ่งหลวง

หน่วยงานที่ให้การสนับสนุน ลำไยอบแห้งเนื้อสีทอง แนวทางการพัฒนากลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มหนองยางไคลพัฒนา หมู่ 4 ตำบลทาทุ่งหลวง อำเภอแม่ทา จังหวัดลำพูน ปี 2551 ที่ กิจกรรม จำนวน ช่วงระยะเวลา งบประมาณ (บาท) หน่วยงานที่ให้การสนับสนุน 1. ลำไยอบแห้งเนื้อสีทอง 2,500 กก. 25 กค.-กย. 500,000 กู้ธนาคาร ออมสิน 2. จัดสร้างโรงเรือนแปรรูป 1 หลัง เมย. 300,000 อบต. 3. ปรับโรงเรือน(จัดสร้างเตาอบพลังแสงอาทิตย์) 1 เตา มิย. 99,000 สำนักงานสหกรณ์จังหวัด 4. จัดทำฉลาก บรรจุภัณฑ์ ชนิดละ 5,000 ชิ้น พค.-มิย. 20,000 พัฒนาสังคมฯ 5. ของบประมาณอบรมการทำขนมอบการทำน้ำลำไยพร้อมดื่ม 3 วัน ตค.-พย. 10,000 กศน. 6. อบรมทำขนมทองม้วนลำไย 1 วัน 1,000 กษอ.แม่ทา วิทยากร

ขอบคุณ http://lamphun.doae.go.th