มโนทัศน์เกี่ยวกับการพยาบาลผู้สูงอายุ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์ การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
Advertisements

การดำเนินงานด้านอนามัยการเจริญพันธุ์
โดย โครงการช่วยกันสานเพื่อส่งเสริมคุณค่าผู้สูงอายุ
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
กายภาพบำบัด ใน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพตำบล
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
ท่วงท่า อิริยาบถในชีวิตประจำวัน
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
จะต้องผ่านเกณฑ์ด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวที่กำหนดไว้ทั้ง 4 ข้อ
การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
บทเรียน Best Practice ของระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
ฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข ทพ.สุธาเจียรมณีโชติชัย ผอ.สำนักทันตสาธารณสุข
ระบบอันพึงประสงค์และการจัดบริการ อาชีวอนามัยในสถานีอนามัย
“ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ”
“นโยบายและการบริการภาครัฐสำหรับผู้สูงอายุ”
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
หัวหน้ากลุ่มโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ระบบHomeward& Rehabilation center
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การบริบาลเบื้องต้นในหน่วยบริการปฐมภูมิ PUBH 224_Basic Medical Care in Primary Care Unit Benjawan Nunthachai.
(ส่วนที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่)
นพ.วินัย ศรีสอาด สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์
คลินิกผู้สูงอายุ อดีต ปัจจุบัน อนาคต
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
รักษาราชการแทนปลัดกระทรวงสาธารณสุข
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค และกฎหมาย
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สสจ.อุดรธานี
นโยบายด้านบริหาร.
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
สุธาทิพย์ รุ่งเรืองอนันต์ กลุ่มงานเวชกรรมสังคม
แนวทางในการประเมินความพร้อม เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามนโยบาย
การจัดบริการสุขภาพ ผู้สูงอายุไทย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แนวทางการดำเนินงานผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2556
บทบาทท้องถิ่นกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
บทบาทอาสาสมัครผู้สูงอายุ
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
สมาคมส่งเสริมธุรกิจบริการผู้สูงอายุไทย วันที่ 28 มีนาคม 2556
โครงการในปีงบประมาณ 2558.
สังคมไทยที่พึงประสงค์ เข้มแข็งและมีดุลยภาพ 3 ด้าน
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
เป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
"วาริชภูมิน่าอยู่ ผู้คนสุขภาพดี ภาคี เข้มแข็ง"
ทิศทางการพัฒนางานสุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ
โครงการลดความแออัดของผู้รับบริการผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลชลบุรี
หน่วยงานภาครัฐ, อปท. และเอกชนมีสนับสนุน งบประมาณ, ประสานงาน กัน อย่างต่อเนื่องและ เข้มแข็ง ( นาจอมเทียน, บางเสร่, พูลตาหลวง, แสมสาร, สัตหีบ ) มีระบบข้อมูลที่มี
“สังคมคุณภาพเพื่อผู้สูงอายุ”
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

มโนทัศน์เกี่ยวกับการพยาบาลผู้สูงอายุ กฎหมาย ภาณุ อดกลั้น 3 กุมภาพันธ์ 2553 เวลา 9.00 – 10.00 น. ณ วิทยาลัยบัณฑิตเอเชีย จ.ขอนแก่น 1

มโนทัศน์เกี่ยวกับการพยาบาลผู้สูงอายุ กฎหมายและแผนที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุ ◆ รัฐธรรมนูญแห่งพระราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ◆ ปฏิญญาผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2542 ◆ แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2545-2564) ◆ ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การบริการทางการแพทย์และการสาธารณสุขที่จัดไว้โดยให้ความ สะดวกและรวดเร็วแก่ผู้สูงอายุเป็นกรณีพิเศษ พ.ศ. 2548 ภาณุ อดกลั้น 3 กุมภาพันธ์ 2553 เวลา 9.00 – 10.00 น. ณ วิทยาลัยบัณฑิตเอเชีย จ.ขอนแก่น 2

มโนทัศน์เกี่ยวกับการพยาบาลผู้สูงอายุ ภาณุ อดกลั้น 3 กุมภาพันธ์ 2553 เวลา 9.00 – 10.00 น. ณ วิทยาลัยบัณฑิตเอเชีย จ.ขอนแก่น 3

มโนทัศน์เกี่ยวกับการพยาบาลผู้สูงอายุ ภาณุ อดกลั้น 3 กุมภาพันธ์ 2553 เวลา 9.00 – 10.00 น. ณ วิทยาลัยบัณฑิตเอเชีย จ.ขอนแก่น 4

มโนทัศน์เกี่ยวกับการพยาบาลผู้สูงอายุ ภาณุ อดกลั้น 3 กุมภาพันธ์ 2553 เวลา 9.00 – 10.00 น. ณ วิทยาลัยบัณฑิตเอเชีย จ.ขอนแก่น 5

มโนทัศน์เกี่ยวกับการพยาบาลผู้สูงอายุ แผนผู้สูงอายุแห่งชาติฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2545 – 2564) ยุทธศาสตร์ของแผนผู้สูงอายุแห่งชาติมี 5 ยุทธศาสตร์ ดังนี้ 1.       ยุทธศาสตร์ด้านการเตรียมความพร้อมของประชากรเพื่อวัยสูงอายุที่มีคุณภาพ 2.       ยุทธศาสตร์ด้านการส่งเสริมผู้สูงอายุ 3.       ยุทธศาสตร์ด้านระบบคุ้มครองทางสังคมสำหรับผู้สูงอายุ 4.   ยุทธศาสตร์ด้านการบริหารจัดการเพื่อการพัฒนาด้านผู้สูงอายุระดับชาติและการพัฒนาบุคลากรด้านผู้สูงอายุ 5.       ยุทธศาสตร์ด้านการประมวลพัฒนาองค์ความรู้ด้านผู้สูงอายุและการติดตามประเมิลผลการดำเนินการตามแผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ภาณุ อดกลั้น 3 กุมภาพันธ์ 2553 เวลา 9.00 – 10.00 น. ณ วิทยาลัยบัณฑิตเอเชีย จ.ขอนแก่น 6

ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การบริการทางการแพทย์ และการสาธารณสุขที่จัดไว้โดยให้ความสะดวก และรวดเร็วแก่ผู้สูงอายุเป็นกรณีพิเศษ พ.ศ. 2548 ข้อ 1 ให้หน่วยบริการในระดับโรงพยาบาลของรัฐให้บริการทางการแพทย์ และการสาธารณสุขแก่ผู้สูงอายุ ดังต่อไปนี้ (1) จัดให้มีช่องทางเฉพาะสำหรับผู้สูงอายุ แยกจากผู้รับบริการทั่วไป ในแผนกผู้ป่วยนอก (2) กำหนดขั้นตอน และระยะเวลาในการให้บริการแก่ผู้สูงอายุ โดยปิดประกาศไว้ให้ชัดเจน และให้มีการประชาสัมพันธ์ในระหว่างให้บริการด้วย 27 เมษายน 2548

ระบบบริการสุขภาพและสังคมสำหรับผู้สูงอายุ ภาณุ อดกลั้น 3 กุมภาพันธ์ 2553 เวลา 9.00 – 10.00 น. ณ วิทยาลัยบัณฑิตเอเชีย จ.ขอนแก่น 8

มโนทัศน์เกี่ยวกับการพยาบาลผู้สูงอายุ จัดตั้งและพัฒนาบริการทางสุขภาพและทางสังคมในชุมชนที่สามารถเข้าถึงผู้สูงอายุมากที่สุด โดยเน้นบริการถึงบ้าน และมีการสอดประสานกันระหว่างบริการทางสุขภาพและทางสังคม โดยควรครอบคลุมบริการดังต่อไปนี้ 1 ศูนย์เอนกประสงค์สำหรับผู้สูงอายุ (multipurpose senior center) 2 ศูนย์ดูแลกลางวัน (day care center) 3 บริการเยี่ยมบ้าน (home visit) 4 บริการดูแลที่บ้าน (home care) 5 บริการสุขภาพที่บ้าน (home health care) 6 บริการชุมชนเคลื่อนที่ไปในพื้นที่ต่างๆ โดยเฉพาะพื้นที่ห่างไกล 7 ส่งเสริมการจัดตั้งระบบเฝ้าระวัง เกื้อกูล และดูแลผู้สูงอายุโดยชุมชน 8 สนับสนุนระบบอาสาสมัคร 9 สนับสนุนและส่งเสริมความรู้ความสามารถให้กับผู้ดูแลผู้สูงอายุและอาสาสมัครผู้ดูแล ภาณุ อดกลั้น 3 กุมภาพันธ์ 2553 เวลา 9.00 – 10.00 น. ณ วิทยาลัยบัณฑิตเอเชีย จ.ขอนแก่น 9

มโนทัศน์เกี่ยวกับการพยาบาลผู้สูงอายุ สุขภาพอนามัย การเรียนรู้เพิ่มเติม การมีที่อยู่อาศัยตามอัตตภาพ การมีงานทำ และมีรายได้ ความมั่นคงในชีวิต และทรัพย์สิน นันทนาการ ภาณุ อดกลั้น 3 กุมภาพันธ์ 2553 เวลา 9.00 – 10.00 น. ณ วิทยาลัยบัณฑิตเอเชีย จ.ขอนแก่น 10

การพยาบาลผู้สูงอายุ 1. ด้านร่างกาย 1.1 อาหาร 1.2 จัดกิจกรรมออกกำลังกาย ติวเข้มมโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุ การพยาบาลผู้สูงอายุ 1. ด้านร่างกาย 1.1 อาหาร 1.2 จัดกิจกรรมออกกำลังกาย 1.3 จัดให้ผู้สูงอายุอยู่ในท่านั่งหรือนอนหัวสูง 1.4 ผิวหนังการขับถ่าย ไม่ปล่อยให้อับชื้น 1.6 การอยู่ในท่าเดียวนาน ๆ จะเกิดแผลกดทับ ภาณุ อดกลั้น 3 กุมภาพันธ์ 2553 เวลา 9.00 – 10.00 น. ณ วิทยาลัยบัณฑิตเอเชีย จ.ขอนแก่น

การพยาบาลผู้สูงอายุ 2. ด้านจิตใจ ติวเข้มมโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุ การพยาบาลผู้สูงอายุ 2. ด้านจิตใจ 2.1 ให้ความดูแลเอาใจใส่ไม่แสดงอาการรำคาญ หรือรังเกียจ 2.2 การให้เกียรติและเคารพนบนอบต่อผู้สูงอายุ 2.3 ให้ผู้สูงอายุมีโอกาสเยี่ยมเยียนเพื่อนฝูงหรือญาติพี่น้องในวัยเดียวกัน ภาณุ อดกลั้น 3 กุมภาพันธ์ 2553 เวลา 9.00 – 10.00 น. ณ วิทยาลัยบัณฑิตเอเชีย จ.ขอนแก่น

ขอให้โชคดี ภาณุ อดกลั้น 3 กุมภาพันธ์ 2553 เวลา 9.00 – 10.00 น. ณ วิทยาลัยบัณฑิตเอเชีย จ.ขอนแก่น 13