การแก้ไขปัญหา วิชา เทคโนโลยีและสารสนเทศ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบสมการเชิงเส้น F M B N เสถียร วิเชียรสาร.
Advertisements

สาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ
ป.2 บทที่ 1 “จำนวนนับ ไม่เกิน1,000”
อสมการ 1.1 อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Appendix A2 จัดทำโดย นางสาว อารยา จำปัน
ง า น วิ จั ย ใ น ชั้ น เ รี ย น ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ ค ณิ ต ศ า ส ต ร์
กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ
ขอต้อนรับเข้าสู่ สาระที่ 3 เรขาคณิต. ขอต้อนรับเข้าสู่ สาระที่ 3 เรขาคณิต.
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
อสมการ.
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
จำนวนจริง F M B N ขอบคุณ เสถียร วิเชียรสาร.
การนับเบื้องต้น Basic counting
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
Minimization วัตถุประสงค์ของบทเรียน
การตวง ความหมายของการตวง -    การตวง    คือ    การวัดปริมาณของสิ่งของต่างๆหรือหาความจุของภาชนะต่างๆ เครื่องตวง -    เครื่องที่เป็นมาตรฐาน    เช่น   
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
Surachai Wachirahatthapong
คำศัพท์ที่น่าสนใจใน A5
กระบวนการคิดทางคณิตศาสตร์
Introduction to Digital System
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
ตัวอย่างงานวิจัย องค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กับการใช้ห้องสมุดของนักเรียนมัธยมศึกษา ตารางที่ 4-7 ตารางที่
ระบบบัญชีเดี่ยว.
คณิตศาสตร์ แสนสนุก.
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
สมการกำลังสอง นางพัชรีย์ ลันดา ผู้สร้าง กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
กศน. สบเมย.. คณิตศาสตร์สุดหรรษา การบวก ลบ คูณ หารระคน.
เศษส่วน.
3.3 ร้อยละผลการปฏิบัติงานตาม แผนกลยุทธ์การสร้างราชการใส สะอาดของกรุงเทพมหานคร 4.3 การดำเนินการของเรื่อง ร้องเรียนเกี่ยวกับการทุจริตของ หน่วยงาน 4.4 ร้อยละของความสำเร็จของ.
ด.ญ. เปรมศิณี แร่มี เลขที่ 14
รายงาน เรื่อง -ส่วนประกอบที่สำคัญของ microsoft excel -การพิมพ์ข้อมูลและการสร้างสูตรเบื้องต้น จัดทำโดย.
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
เครื่องหมายและการดำเนินการ ในภาษา C
เรื่องหลักการแก้ปัญหา
เรื่อง การบวกจำนวนสองจำนวน โรงเรียนบุรพรัตน์วิทยาคาร
ด.ญ. ยุพิน จันทร์หอม ด.ญ. นริศรา โภคา
(Tiling Deficient Boards with Trominoes)
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.).
การเร่งโครงการ Expedite Project.
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แผนกบริหารธุรกิจ โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
Easy way to Estimate Training Project
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
หลักการแก้ปัญหา.
หน่วยที่ 4 หลักการแก้ปัญหากับภาษาคอมพิวเตอร์
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
ค32212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 4
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
ค32214 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 4
วิชา…เทคโนโลยีและสารสนเทศ
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
กลุ่มที่ 3 สมาชิกในกลุ่ม
ปัญหา คิดสนุก.
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
เศษส่วนของพหุนาม การทำให้อยู่ในรูปเศษส่วนอย่างต่ำ
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย
Wattanapong suttapak SE, ICT University of Phayao.
กลุ่มที่ 3 สมาชิกในกลุ่ม
การแก้ไขปัญหา วิชา เทคโนโลยีและสารสนเทศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การแก้ไขปัญหา วิชา เทคโนโลยีและสารสนเทศ จัดทำโดย ด.ญ. สุทธิดา วงศ์กิติตระกูล ชั้น ม.2/11 เลขที่ 1 เสนอ อาจารย์ สายฝน เอกกันทา โรงเรียน จักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน

ปัญหา: เติมตัวเลข 1-9 ลงในช่องสี่เหลี่ยมที่ว่างอยู่ให้ครบ โดยกำหนดให้ตัวเลข 1 เป็นผลลัพธ์ของช่องที่สองดังรูป

การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา ขั้นตอนที่ 1 การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา การระบุข้อมูลเข้า (ข้อมูลและเงื่อนไขที่กำหนด) จำนวน 9 จำนวน ได้แก่ ตัวเลข 1 – 9 ต้องนำตัวเลขทั้งหมดเติมในช่องวางละ 1 ตัวไม่ซ้ำกันและให้ผลรวมตัวเลขในแต่ละแถวมีค่าถูกต้องตามสมการนั้นๆ การระบุข้อมูลออก (เป้าหมายหรือคำตอบ) นำตัวเลขทั้ง 9 ตัวไปใส่ในแต่ละแถวให้เกิดสมการได้อย่างถูกต้อง การกำหนดวิธีประมวลผล (ขั้นตอน วิธีการได้มาซึ่งคำตอบ ) ต้องนำตัวเลขทั้งหมดเติมในช่องวางละ 1 ตัวไม่ซ้ำกันและให้ผลรวมตัวเลขในแต่ละแถวมีค่าถูกต้องตามสมการนั้นๆ

การวางแผนในการแก้ปัญหา ขั้นตอนที่ 2 การวางแผนในการแก้ปัญหา นำตัวเลขที่คูณกันแล้วมีผลลัพธ์น้อยกว่า 9 ใส่ลงในแถวที่สามก่อน นำตัวเลขที่เหลืออยู่ตอนนี้ มาจับคู่บวกกันให้ได้ผลลัพธ์เป็นเลขเหลืออยู่ ซึ่งมีทั้งหมดห้าจำนวน ซึ่งทั้งสองจำนวนนั้น ต้องบวกกันไม่เกิน 9 ใส่ในแถวที่หนึ่ง นำตัวเลขที่เหลือซึ่งยังไม่ได้ใช้ในแถวใดเลยใส่ในแถวที่สอง นำมาตั้งลบกันซึ่งต้องนำมาใส่ให้เกิดสมการด้วย

การดำเนินการแก้ไขปัญหา ขั้นตอนที่ 3 การดำเนินการแก้ไขปัญหา นำตัวเลขที่คูณกันแล้วมีผลลัพธ์น้อยกว่า 9 ใส่ลงในแถวที่สามก่อน ซึ่งมีเพียงคู่เดียวที่คูณกันได้ต่ำกว่า 9 คือ 3X2 = 6 นอกเหนือจากนั้นจะมีค่าเท่ากับหรือมากกว่า 9 ทั้งสิ้น นำตัวเลขที่เหลืออยู่ตอนนี้ มาจับคู่บวกกันให้ได้ผลลัพธ์เป็นเลขเหลืออยู่ ซึ่งมีทั้งหมดห้าจำนวนนั้น ใส่ในแถวที่หนึ่ง ตอนนี้เหลือตัวเลขทั้งหมดที่ต้องใช้อยู่ 5 ตัว คือ 4,5,7,8,9 ให้จับคู่ตัวเลขให้มีผลบวกเท่ากับตัวเลขในจำนวนที่เหลือ ซึ่งก็คือ 4+5 = 9 นอกนั้นไม่สามารถทำได้ เพราะบวกกันแล้วได้เกิน 9 ทุกจำนวน 3. นำตัวเลขที่เหลือซึ่งยังไม่ได้ใช้ในแถวใดเลยใส่ในแถวที่สอง ซึ่งต้องนำมาใส่ให้เกิดสมการด้วย ตัวเลขที่เหลืออยู่คือ 7กับ8 ซึ่ง 8-7 =1 เป็นสมการพอดี

การตรวจสอบ ขั้นตอนที่ 4 จากการตรวจสอบพบว่า ตัวเลขทั้งหมดสามารถนำมาใส่ได้ในช่องว่างและเกิดเป็นสมการจริงดังรูป 4.1 รูป 4.1 แสดงสมการทั้ง 3 แถว