โรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บูรณาการสู่ความสำเร็จ
Advertisements

กลุ่มที่ 2 สถาบันที่ยังไม่มี IBC
กลุ่มที่ 3 กลุ่มจังหวัดที่ 6.1 กลุ่มจังหวัดที่ 6.2 กลุ่มจังหวัดที่ 6.3 กลุ่มจังหวัดที่ 7.1 กลุ่มจังหวัดที่ 7.2.
การเปลี่ยนแปลงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สัปดาห์ที่ 2 เรื่อง โครงการสุขศึกษา
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
ระบบเครือข่ายห้องปฏิบัติการแห่งชาติ
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค
ประธานกลุ่ม : คุณสยาม เลขานุการกลุ่ม : คุณรัตนา ผู้นำเสนอ : คุณศรัญญา, คุณจรรยวรรธน์ สรุปผลการประชุม กลุ่มที่ 5.
27 ตุลาคม 2551 ณ ศูนย์ประชุมอุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย
เป้าหมายความคาดหวัง สร้างพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบ้า ปี 2555 ประชุมหัวหน้าส่วนราชการ เขต 3 21 มีนาคม 2555 ณ ศวพ.สุรินททร์
29-2 ธันวาคม 2553 โรงแรมกิจตรงวิลล์ รีสอร์ท อุบลราชธานี
“โครงการอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555”
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
วันที่ถ่ายทอด มีนาคม 2548 สถานที่ถ่ายทอด โรงแรมเทวราช อ.เมือง จ.น่าน
นโยบายอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๔
ยุทธศาสตร์ การป้องกันควบคุมไข้หวัดนก
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
กิจกรรมประชุมพัฒนาการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคระดับจังหวัด ในเขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4,5 ( การปรับปรุงการบริหารจัดการที่สนับสนุนการ ขับเคลื่อนงานอำเภอ.
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
นพ.ศรายุธ อุตตมางคพงศ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
BRAND “ กรมควบคุมโรค ” สรุปการประชุมปฏิบัติการจัดทำสัญญนิยม 19 เมษายน 2550 ณ จังหวัดเชียงใหม่ ประชุมกรมควบคุมโรค 15 พฤษภาคม 2550.
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
การจัดประชุมเฉพาะกลุ่มที่ เกี่ยวข้องโดยตรง Focus Group 1st ปัญหา อุปสรรค และกลยุทธ์ ส่งเสริมงานวิจัยด้าน ICT ไทย “ โครงการส่งเสริมงานวิจัยและ พัฒนาเพื่อเสริมสร้างความ.
การจัดประชุมเฉพาะกลุ่มที่ เกี่ยวข้องโดยตรง Focus Group 4 th กลยุทธ์การส่งเสริมและพัฒนา เสริมสร้างศักยภาพอุตสาหกรรม ICT ไทย “ โครงการส่งเสริมงานวิจัยและ.
จังหวัดนครปฐม.
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
สรุปการประชุม เขต 10.
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการสร้างแรงจูงใจและมีส่วนร่วม
เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคสาธารณสุขเขต 10 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
เครือข่ายการ พัฒนา ทรัพยากร มนุษย์ สุริยะ วงศ์คง คาเทพ.
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑๐
"เป็นหน่วยงานหลักในการประสาน และผลักดันยุทธศาสตร์กระทรวง
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
แผนการดำเนินงาน ของศูนย์กฎหมาย ปีงบประมาณ พ.ศ กรมควบคุมโรค
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
คำแนะนำสำหรับกระทรวง สาธารณสุข  จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบ สุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การ กำหนดค่ากลางของ ความสำเร็จของโครงการ สุขภาพระดับเขต เพื่อส่ง มอบให้จังหวัดนำเข้าสู่
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
กลุ่ม A2 “ข้าวเด้ง”.
พระราชบัญญัติที่เกี่ยวข้อง กับการสร้างเขตปลอดโรค พิษสุนัขบ้า.
กลุ่มที่ 5 และกลุ่มที่ 12. สรุปกระบวนการและ ข้อเสนอแนะ การนิเทศ รพ. สต. รอบที่ 1 เป็นแนวคิดที่เน้นการนิเทศงานแบบ กระบวนการทำงานของแต่ละพื้นที่ ซึ่งไม่มีรูปแบบตายตัว.
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา.
โรคอาหารเป็นพิษ วันที่ 26 – 27 พฤศจิกายน 2557 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สำนักโรคติดต่อทั่วไป.
แนวทางการดำเนินงานสาธารณสุขที่สำคัญ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 2 จังหวัดสระบุรี. แรงบันดาลใจ  การกระจายอำนาจให้แก่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นเข้ามามี บทบาทในการให้บริการ สาธารณะ  ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน

โรคพิษสุนัขบ้า เป้าหมายการลดโรค : ไม่มีผู้เสียชีวิตด้วยโรคพิษสุนัขบ้า ทุก อปท. มีโครงการสร้างพื้นที่ปลอดโรค

สถานการณ์โรคเลปโตสไปโรสิส 10 จังหวัดแรกที่พบอัตราป่วยสูงสุด ตั้งแต่ปี 2546-2556 1 ศรีสะเกษ 2 สุรินทร์ 3 บุรีรัมย์ 4 ขอนแก่น 5 กาฬสินธุ์ พังงา 6 เลย 7 ระนอง 8 น่าน 9 ร้อยเอ็ด 10 หนองคาย เป้าหมายการลดโรค : ลดอัตราป่วยตายให้น้อยกว่าค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง

กลุ่มเป้าหมายและเครือข่าย เครือข่ายดำเนินการ สำนักปลัดกระทรวงสาธารณสุข : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด รพศ./รพท./รพช. สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ กรมควบคุมโรค : สำนักโรคติดต่อทั่วไป, สำนักระบาดวิทยา สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1-12 กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ : สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมปศุสัตว์ : สำนักควบคุม ป้องกันและบำบัดโรคสัตว์ สถาบันสุขภาพสัตว์แห่งชาติ สำนักงานปศุสัตว์เขต 1-9 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น , สถานเสาวภา สภากาชาดไทย, สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์การแพทย์ทหาร , ทบวงมหาวิทยาลัย, ศูนย์ปฏิบัติการโรคทางสมอง คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

1. การบริหารจัดการบูรณาการเครือข่ายในการ ป้องกัน โรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน 1. ประชุมบูรณาแผนงานและการแก้ปัญหา ที่มีผลต่อการสร้างพื้นที่ปลอดโรคของเครือข่าย 2. การประชุมเร่งรัดกำจัดโรคพิษสุนัขบ้าของเครือข่ายในพื้นที่เสี่ยง ปี 2558 3. การติดตาม ประสาน งานเร่งรัดกำจัดโรคพิษสุนัขบ้าเชิงรุก ในพื้นที่เสี่ยง 4. ประสานความร่วมมือของเครือข่ายระดับภูมิภาค (สคร.,ปศข.) ในการประชุม และติดตามเร่งรัดการดำเนินงานสร้างพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบ้าของท้องถิ่น 5. ประชุมคณะกรรมการชมรมโรคเลปโตสไปโรสิสแห่งประเทศไทย 3.Zoo ติดตามประสาน การดำเนิน สคร. 22 จังหวัดในพื้นที่เสี่ยง

ปัญหาอุปสรรค การดำเนินงานเร่งรัดกำจัดโรคพิษสุนัขบ้าไม่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากส่วนกลาง มีการเปลี่ยนแปลงผู้รับผิดชอบงานโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน ค่อนข้างบ่อยทำให้การดำเนินงานขาดความต่อเนื่อง

ข้อเสนอแนะ ส่วนกลางควรมีการผลักดันนโยบายไปยัง สคร. เพื่อให้งานด้านการป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคนเห็นผลชัดเจน เนื่องจากไม่มีการสนับสนุนงบประมาณจากส่วนกลาง ทำให้บางสคร. มีการบูรณาการการดำเนินงานโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน ร่วมกับโครงการอื่น

ข้อเสนอแนะ (ต่อ) การบูรณาการเครือข่ายโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน ควรมีการ - ประชุมเพื่อแก้ปัญหาร่วมกันระหว่างเครือข่าย - มีการปฏิบัติงานเชิงรุก ไปยังท้องถิ่นที่มีส่วนเกี่ยวข้อง - ระดมสรรพกำลังของเครือข่าย ส่วนกลางควรทำความเข้าใจกับผู้บริหาร สคร. ให้เห็นความสำคัญ ของการป้องกันควบคุมโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน เพื่อผลักดัน งานให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้

2.พัฒนาวิชาการ 1. ประชุมคณะผู้เชี่ยวชาญด้านโรคเลปโตสไปโรสิสในพื้นที่เสี่ยง 2. ประชุมวิชาการโรคเลปโตสไปโรสิส ประจำปี 2558 3. จากแผนสู่การปฏิบัติ โรคพิษสุนัขบ้า (TUC)

ข้อเสนอแนะ เมื่อได้รับงบประมาณจาก TUC สคร. อาจมีส่วนร่วม ในการกำหนดจังหวัดต้นแบบ Rabies Free Zone

3. การป้องกัน ควบคุมโรคในคน 1. สร้างความตระหนักในประชาชนในการป้องกันหลังถูกสุนัขกัด โดยการสื่อสารประชาสัมพันธ์ให้เข้าถึง 2. ติดตามผู้สัมผัสโรค/ผู้ถูกสุนัขกัด ให้มารับการฉีดวัคซีนตามแนวทางการติดตามของสำนักโรคติดต่อทั่วไป โดยเครือข่าย 3. ติดตาม เร่งรัดการใช้ระบบรายงาน ร36 การสร้างความตระหนัก

ข้อเสนอแนะ สคร.ควรร่วมมือกับเครือข่ายสร้างความตระหนักให้กับประชาชน ในการป้องกันหลังถูกสุนัขกัด ชี้แจ้งให้ผู้รับผิดชอบการรายงาน ร. 36 ให้เห็นความสำคัญและประโยชน์ของระบบ

Thank you