องค์ความรู้ด้านการวิจัย ประเด็นความรู้ เรื่อง “การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย” โดย ศ. เกียรติคุณ ดร. ไมตรี สุทธจิตต์ (คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์) และ ผศ. ดร. ยุทธนา หมั่นดี (คณะสหเวชศาสตร์)
การเลือกเรื่องการวิจัย ขึ้นกับผู้ให้ทุน - กำหนดกรอบ หรือ หัวข้อการวิจัย - ไม่กำหนดกรอบ หรือ หัวข้อการวิจัย
การหาแหล่งทุนวิจัย : แหล่งทุนวิจัยหาได้จากการสืบค้นทาง internet และ ประกาศต่าง ๆ ส่วนมากมาจาก 2 แหล่ง 1. ภายในมหาวิทยาลัย - งบเงินรายได้ - งบประมาณแผ่นดิน หรือ สำนักงาน คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ(วช.) 2. ภายนอกมหาวิทยาลัย - หน่วยงานต่าง ๆ รัฐบาล เช่น สกว. สกอ. อวน. สวก. - หน่วยงาน เอกชน เช่น เซเรบอส โตโยต้า - มหาวิทยาลัยต่าง ๆ ทั้งในประเทศและ ต่างประเทศ - องค์การระหว่างประเทศ
สิ่งที่นักวิจัยต้องรู้ก่อนเขียนโครงการวิจัย 1. รู้เนื้อหาที่จะทำวิจัย 2. รู้ระเบียบวิธีวิจัย 3. รู้องค์ประกอบของข้อเสนอ โครงการวิจัย 4. รู้วิธีเขียนรายละเอียดข้อเสนอ โครงการวิจัย
ลักษณะของข้อเสนอโครงการวิจัยที่ดี 1. ควร - แสดงถึงปัญหาที่วิจัย/วัตถุประสงค์/การ วิเคราะห์ ที่เจาะลึก - แสดงวิธีการได้มาของข้อมูล หรือการทดลอง ที่ชัดเจน - ผลสรุปต่างๆบ่งบอกเป็นตัวเลข เช่น ผิดจาก ทฤษฎีไปกี่เปอร์เซ็นต์ - วิเคราะห์ วิจารณ์ และเสนอแนะ อย่างมือ อาชีพ 2. ควร - นักวิจัยใหม่ควรร่วมทำวิจัยกับนักวิจัยอาวุโสจน ช่ำชองก่อน - ควรร่วมใน ปฏิบัติการ การทดลอง การ ค้นพบอาจมาจากการ สังเกต
4.3 การทำงานวิจัยค้นคว้าใหม่ ควร - ค้นคว้าจากเอกสารประชุมวิชาการนานาชาติ (proceeding) - ค้นคว้าจากวารสารวิชาการระดับนานาชาติ เช่น IEEE, sciencedirect, PUBMED, etc. - ค้นคว้าจากเอกสารสิทธิบัตรต่างๆ - ค้นคว้าจากวารสารในสาขาอื่นๆ - จากข้อมูลที่ได้ควรคาดการณ์ล่วงหน้า ว่า งานก้าวหน้าไปอย่างไร
4. ควรมีการตรวจสอบผลงานอย่างลึกซึ้ง ต้อง ใช้สติปํญญาและความอดทน - เพื่อความแน่ใจค้นคว้าวารสาร สิทธิบัตร ย้อนหลัง 10-20 ปี - นอกจากคิดค้นริเริ่มใหม่แล้วต้องมีคุณค่า ที่สำคัญ (significant) - ความคิดริเริ่มใหม่ต้องไม่ยุ่งยากซับซ้อน หรือมีค่าใช้จ่ายสูง
STRATEGY FOR RESEARCH SUCCESS : “5 Hs” HEAD ----การเลือกปัญหา และ การวางแผนในการทำวิจัย HEART ----ฉันทะ & การ ทุ่มเทกับงานวิจัย HANDS ---- การร่วมมือกับผู้ร่วม วิจัย HOPE………ความคาดหมายและ ความหวัง HELP………ความช่วยเหลือ การพึ่งพา ที่ปรึกษา