การรวมธุรกิจ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บริษัท กุ้งหลวงไคโตซาน จำกัด
Advertisements

การประเมินโครงการลงทุน Capital Budgeting
การคำนวณกระแสเงินสด คำนวณกระแสเงินสดเพื่อใช้ประเมินโครงการลงทุน (Capital budgeting)
ค่าของทุน The Cost of Capital
สำนักวิชาบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
การขายผ่อนชำระและการเช่าซื้อ
ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
การจัดการเงินทุนหมุนเวียน
บทที่ 10 งบประมาณลงทุน.
สำนักวิชาบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
บทที่ 3 การเปลี่ยนแปลงในส่วนของ ผู้เป็นหุ้นส่วน
การประยุกต์ใช้องค์ประกอบของต้นทุนการผลิตเพื่อการบริหารอย่างมืออาชีพ
เกมธุรกิจแห่งชาติ ตัวชี้วัด น้ำหนัก 1 ยอดขาย 10% 2 กำไร 40% 3 ROE 15%
สถานการณ์การเงินที่อยู่อาศัย
ฐานะการเงิน ผลการดำเนินงาน และ สมการทางบัญชี
การวางแผน ธุรกิจ เป็นกระบวนการ บริหารจัดการทาง การเงินที่สำคัญของ คณะกรรมการกองทุน หมู่บ้าน.
ต้นทุน(บาท/กิโลกรัม)
งบประมาณ และ กลยุทธ์ทางด้านการเงิน ธนชัย ผู้พัฒน์
Lesson 11 Price.
การเปิดเผยข้อมูลและ นโยบายการบัญชี
การบันทึกรายการปรับปรุง
บทที่ 1 อัตราส่วน.
Chapter 3 การกำหนดราคามุ่งที่ต้นทุน
หนี้สงสัยจะสูญและหนี้สูญ
MARKET PLANNING DECISION
สถานการณ์ด้านการเงินการคลัง
พื้นที่น้ำท่วม วันที่ 23 ต.ค. 2554
การบันทึกบัญชีงานระหว่างก่อสร้าง

บทที่ 12 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน ประเภทของสินทรัพย์ไม่มีตัวตน
The Analysis And Use of Financial Statement
บทที่ 4 งบการเงิน.
บทที่ 6 การบัญชีสำหรับกิจการซื้อ-ขายสินค้า
การบันทึกรายการค้าในสมุดบัญชี
การทำความเข้าใจกับงบทดลอง
ระบบบัญชี.
งบลงทุน Capital Budgeting
Financial Management.
ภาษีเงินได้นิติบุคคล
บทบาทของการบริหารการเงิน (The Role Financial Management)
บทที่ 4 ผลตอบแทนและความเสี่ยง (1)
บทที่ 3 คณิตศาสตร์การเงิน (3)
เป้าประสงค์ คิดคำนวณกำไร – ขาดทุนจากการประกอบอาชีพ
การจัดทำงบการเงินประจำปี ประกอบด้วย.
การปรับปรุงกรอบการประเมิน กองบัญชี สำนักการคลัง
กองบัญชี สำนักการคลัง รับผิดชอบ ตัวชี้วัด ในมิติที่ 2
การรับรองงบการเงินของสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ปีงบประมาณ 2518 – 2552
0 การจัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change)
การประยุกต์ใช้ค่าเงินที่เปลี่ยนแปลงตามเวลา
เรื่อง พระราชบัญญัติกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (กบข.)
หน่วยที่ 4 รายการปรับปรุงและงบทดลอง หลังรายการปรับปรุง
เงินฝากมี 3 ประเภท คือ เงินฝากออมทรัพย์ทั่วไป เงินฝากออมทรัพย์พิเศษ
สินค้าคงเหลือ.
หน่วยที่ 4 รายการปิดบัญชีและงบการเงินของกิจการอุตสาหกรรม
หน่วยที่ 2 ต้นทุนสินค้าสำเร็จรูป
การบัญชีเกี่ยวกับตั๋วขาดความเชื่อถือ
บทที่ 6 การปิดบัญชี การปิดบัญชีในสมุดรายวันทั่วไป
เทคนิคการจำแนกหมวดบัญชี
ข้อเปรียบเทียบ สำหรับข้าราชการ การกลับไปใช้สิทธิในบำเหน็จบำนาญ
ระบบบัญชีเดี่ยวและสินค้า
หน้าที่ของกรมธรรม์ประกันชีวิต (สัญญาหลัก)
FM FM
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
กรณีศึกษามาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 29 สัญญาเช่า
สมชาย วิวัฒนวัฒนา.
1.
หน่วยที่ 3 การบันทึกรายการค้าในสมุดรายวันทั่วไป
ชื่อกิจการ เจ้าของกิจการ.
FINANCIAL PLANNING (CASH BUDGET)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การรวมธุรกิจ

1. การซื้อหุ้น 2. แลกหุ้น 3. การซื้อสินทรัพย์

เดบิต PPE 80 สูตรการผลิต 5 เครดิต เงินสด 100 รายชื่อลูกค้า 3 สูตรการผลิต 5 รายชื่อลูกค้า 3 สิทธิบัตร สัมปทาน 3 ตรายี่ห้อ 5 ค่าความนิยม 4 เครดิต เงินสด 100

เดบิต รถยนต์ 1,200,000 เครดิต เงินสด 1,200,000 เดบิต สร้อยคอทองคำ(แท้) 50,000 เครดิต รถยนต์ 50,000

ประมาณการหนี้สิน ไปทำสัญญามีภาระผูกพันที่จะต้องปรับปรุงสภาพสินทรัพย์ที่เช่า มีการรับประกันหลังการขาย มีโครงการให้บำเหน็จพนักงานหลังเกษียณ

งานระหว่างก่อสร้าง 20 เงินสด 20 อาคาร 20 งานระหว่างก่อสร้าง 20 อาคาร 3 ประมาณการหนี้สิน 3

ค่าใช้จ่ายปรับปรุงพื้นที่เกิดเปลี่ยนเป็น 5 บาท เดบิต ขาดทุนจากการปรับปรุงประมาณการหนี้สิน 2 เครดิต ประมาณการหนี้สิน 2

การตีราคาใหม่ 1. ใช้ Market Comparison = FV 2. Replacement Cost หัก ค่าเสื่อมราคาสะสมก่อน 3. Income Approach

การบัญชีกรณีตีราคาใหม่ 1. วิธีต้นทุนเปลี่ยนแทนหักค่าเสื่อมสะสม เพิ่มต้นทุนสินทรัพย์และค่าเสื่อมสะสมให้เป็นสัดส่วนกัน 2. วิธีมูลค่ายุติธรรม ตัดบัญชีค่าเสื่อมสะสมออก และใช้มูลค่าตามบัญชีมาตีเพิ่ม

1. วิธีต้นทุนเปลี่ยนแทนหักค่าเสื่อมสะสม สมมุติ เครื่องจักรซื้อมา 100 บาท วันที่ 1 มกราคม 2548 คิดค่าเสื่อมราคาเส้นตรง อายุ 5 ปี ต่อมา สิ้นปี 2549 ตีราคาใหม่ ได้ที่ 90 บาท

หามูลค่าตามบัญชี ณ 31 ธันวาคม 2549 ราคาทุน 100 ค่าเสื่อมราคาสะสม 40 Carrying Amount 60 40 : 100  2 : 5

เดบิต เครื่องจักร 50 เครดิต ส่วนเกินทุนฯ 30 เครดิต ค่าเสื่อมสะสม 20

ราคาทุน 150 ค่าเสื่อมราคาสะสม 60 Carrying Amount 90 40 : 100  2 : 5

2. วิธีมูลค่ายุติธรรม เดบิต ค่าเสื่อมราคาสะสม 40 เครดิต เครื่องจักร 40 เดบิต ค่าเสื่อมราคาสะสม 40 เครดิต เครื่องจักร 40 เดบิต เครื่องจักร 30 เครดิต ส่วนเกินทุนฯ 30

การคิดค่าเสื่อมส่วนที่ตีเพิ่ม เดบิต ค่าเสื่อมราคา 30 เครดิต ค่าเสื่อมสะสม 30 เดบิต ส่วนเกินทุน 10 เครดิต กำไรสะสม 10

วิธีอัตราคงที่ของมูลค่าคงเหลือที่ลดลง 100 คิด 20% สิ้นปีที่ 1 เหลือ 80 ค่าเสื่อมปีนี้ 20 สิ้นปีที่ 2 เหลือ 64 ค่าเสื่อมปีนี้ 16

วิธีอัตราคงที่ของมูลค่าคงเหลือที่ลดลง Diminishing Balance Method = 1- n 25.4% สิ้นปีที่ 1 เหลือ 80 ค่าเสื่อมปีนี้ 20 สิ้นปีที่ 2 เหลือ 64 ค่าเสื่อมปีนี้ 16

เดบิต สินทรัพย์ตามสัญญาเช่า 120 ดอกเบี้ยรอตัด 20 เครดิต หนี้สินตามสัญญาเช่า 110 เงินสด 30

การด้อยค่า ฉบับนี้ใช้กับ บ.มหาชน เท่านั้น แต่เราควรรู้ไว้ตามหลักความระมัดระวังในแม่บทการบัญชี

การด้อยค่า ภาวะที่มูลค่าตามบัญชี(Carrying Amount) สูงกว่ามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน(Recoverable Amount =RA)

Recoverable Amount มูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนที่ทำให้ขายได้ Net Selling Price = NSP มูลค่าจากการใช้ Value in Use = VIU แล้วแต่ตัวใดจะสูงกว่า

หลักการหา RA Rational Management

เดบิต ขาดทุนจากการด้อยค่า เครดิต ค่าเผื่อขาดทุนด้อยค่า เดบิต ค่าเผื่อฯ เครดิต กำไรจากการกลับผลขาดทุนจากการด้อยค่า

อาคารราคาทุน 200 คิดค่าเสื่อม 20 ปี ใช้งานมาแล้ว 5 ปี สิ้นปีเกิดด้อยค่าเหลือมูลค่า 120 เดบิต ขาดทุนจากการด้อยค่า 30 เครดิต ค่าเผื่อขาดทุนด้อยค่า 30

สิ้นปีที่ 8 ทดสอบด้อยค่าได้ RA = 110 มูลค่าตามบัญชี 200 – 80 – 30 = 90 เดบิต ค่าเผื่อฯ 20 เครดิต กำไรจากการกลับผลขาดทุนจากการด้อยค่า 20

สิ้นปีที่ 8 ทดสอบด้อยค่าได้ RA = 140 มูลค่าตามบัญชี 200 – 80 – 30 = 90 มูลค่าตามบัญชีปกติ 200 – 80 = 120 เดบิต ค่าเผื่อฯ 30 เครดิต กำไรจากการกลับผลขาดทุนจากการด้อยค่า 30

วิธีกระแสเงินสดที่คาดการณ์ VIU หาจากประมาณการกระแสเงินสดรับหักกระแสเงินสดจ่าย คิดลดกลับมาเป็นมูลค่าปัจจุบัน วิธีดั้งเดิม วิธีกระแสเงินสดที่คาดการณ์

VIU วิธีดั้งเดิม ทำประมาณการกระแสเงินสดรับหักกระแสเงินสดจ่าย คิดลดกลับมาเป็นมูลค่าปัจจุบัน โดยทำแค่กรณีเดียว

VIU กระแสเงินสดที่คาดการณ์ ทำประมาณการกระแสเงินสดรับหักกระแสเงินสดจ่าย คิดลดกลับมาเป็นมูลค่าปัจจุบัน โดยทำออกมาหลายกรณี แล้วนำเรื่องความน่าจะเป็นเข้ามาช่วย ปานกลาง Base Case ดีที่สุด Best Case แย่ที่สุด Worse Case

VIU กระแสเงินสดที่คาดการณ์ Base Case Base Case 10 0.6 6 Best Case 18 0.1 1.8 Worse Case 6 0.3 1.8 8.6+1

NSP และ VIU ไม่ได้กำหนดให้ผู้ประเมินต้องเป็นคนหา การด้อยค่าเป็นการพิจารณาไม่ให้สินทรัพย์แสดงมูลค่าสูงเกินไป เป็นกระบวน Write down

ซื้อสินทรัพย์มา 100 CGU 1 80 CGU 2 20 ค่าความนิยม 20 ค่าความนิยมCGU 1 16 ค่าความนิยม CGU 2 4

CGU 1 RA = 100 > CGU 1 = 96(80+16) ไม่เกิดการด้อยค่า RA = 90 < CGU 1 = 96(80+16) เกิดการด้อยค่า RA = 70 < CGU 1 = 96(80+16) เกิดการด้อยค่า

CGU 1 RA = 75 < CGU 1 = 70(70+0) มีการกลับผลขาดทุนจากการด้อยค่า RA = 95 < CGU 1 = 70(70+0) มีการกลับผลขาดทุนจากการด้อยค่า