โครงการนำร่องการลดโอกาสเสี่ยงต่อการเกิด โรคหัวใจและหลอดเลือด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชุมชน ปี ๒๕๕๗
Advertisements

Service Plan สาขา NCD.
การพัฒนาระบบการส่งต่อโรคเรื้อรังใกล้บ้านใกล้ใจ โรงพยาบาลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี กฤษณา เปรมศรี 10 มกราคม
สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย
การจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพพื้นที่ : จังหวัดลำพูน
ระบบข้อมูลการป่วย ระบบงานที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลสาเหตุภายนอก ที่ทำให้บาดเจ็บ ระบบรายงาน ระบบฐานข้อมูลผู้ป่วยในรายบุคคล.
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
กลุ่มตัวชี้วัด : ๑) จำนวนการส่งต่อผู้ป่วยนอกเขตบริการ ลดลงร้อยละ ๕๐
นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร ณ โรงแรมเจริญ โฮเต็ล จังหวัดอุดรธานี
ความหมายและกระบวนการ
โครงการ : การพัฒนาและ ปรับปรุงการทำงานด้วย Challenge โดย สำนักงานพัฒนา ชุมชนอำเภอเด่นชัย.
อัญชลีพร พันธุ์วิไล หัวหน้ากลุ่มงานส่งเสริมการพัฒนาชุมชน
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
แผนการประชุม จัดทำแผนปฏิบัติการ ๒๕๕๖
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ1-19 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 1 มกราคม –19 เมษายน 2551 สัปดาห์ที่ 16_ปี2551 ต่อแสนประชากร เขตตรวจราชการ.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 4 มกราคม 2552 _ 18 มกราคม 52 สัปดาห์ที่ 2_ปี2552 ต่อแสนประชากร ที่มา :
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนก ตามรายเขตตรวจราชการ 1-19 ข้อมูลสะสม ตั้งแต่ 1 มกราคม –9 สิงหาคม 2551 สัปดาห์ที่ 32_ ปี 2551 เขตตรวจราชการ ต่อแสนประชากร.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ1-19 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 1 มกราคม - 10 พฤศจิกายน 2550 ต่อแสนประชากร ที่มา : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนก ตามรายเขตตรวจราชการ 1-19 ข้อมูลสะสม ตั้งแต่ 1 มกราคม – 10 พฤษภาคม 2551 สัปดาห์ที่ 19_ ปี 2551 เขตตรวจราชการ ต่อแสนประชากร.
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 8 จังหวัดนครสวรรค์
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-19 ปี 2550 (1 มกราคม - 31 ธันวาคม 2550) ต่อแสนประชากร ที่มา : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด.
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
กราฟที่ 1 อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ1-19 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 1 มกราคม - 13 ตุลาคม 2550 ต่อแสนประชากร.
โครงการพัฒนารูปแบบการลดทัศนคติการตีตรา/รังเกียจเด็กที่ได้รับผลกระทบจากพ่อแม่ที่ติดเชื้อและเจ็บป่วยด้วยโรคเอดส์ในโรงเรียนระดับประถมศึกษา-มัธยมศึกษาปี
เขมกร เที่ยงทางธรรม สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑ กรุงเทพฯ
นโยบาย และแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ระดับประเทศและภูมิภาค
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
คู่มือการจัดทำแผนปฏิบัติการ ป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
แนวทางการบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับพื้นที่
การติดตามประเมินผล ปี 2552
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
รายงานความคืบหน้า การพิจารณาแนวทางการแก้ไขปัญหา การจ่ายค่าตอบแทนตามภาระงานของ บุคลากร กลุ่มประกันสุขภาพ.
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
พัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล
บุหรี่และสุรา ความแตกต่างของปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพระหว่าง ครัวเรือนที่มีเศรษฐานะและระดับการศึกษาที่แตกต่างกัน วิชัย โชควิวัฒน สุพล ลิมวัฒนานนท์ กนิษฐา.
หกมิติความไม่เท่าเทียมระหว่างหญิงชาย หนทางเพื่อพัฒนาสู่ความเสมอภาค
กองทุนสมทบ ค่าบริการการแพทย์แผนไทย
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
นโยบายด้านส่งเสริมสุขภาพ กลุ่มผู้สูงอายุ
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
การวิเคราะห์หาพื้นที่เสี่ยงต่อโรคเลปโตสไปโรซีส
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
แนวทางในการประเมินความพร้อม เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามนโยบาย
การพัฒนาศักยภาพบุลากร ด้านการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย วันที่ กันยายน 2552 ณ ห้องประชุมคณาพันธ์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอำนาจเจริญ.
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
การตรวจประเมินรับรอง รอบ 2 มาตรฐานงานสุขศึกษา
สรุปการประชุมกลุ่มย่อยที่ 1
การดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม
National Health Security Office 1. Subject : งบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ถึงปี 2554 จะประกอบด้วย 5 กองทุนย่อย 1.งบบริการทางการแพทย์ (งบเหมาจ่ายรายหัว)
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
แผนพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ร้อยละของของเด็กตั้งแต่แรกเกิด - 6 เดือน แรกมีค่าเฉลี่ยกินนมแม่อย่างเดียวมากกว่า หรือเท่ากับ 60.
การพัฒนาสุขภาพ : กลุ่มเด็กวัยเรียน
สถานการณ์โรคที่สำคัญ ในเขตบริการสุขภาพที่ 11
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพตามกลุ่มวัย เด็กวัยเรียน 5-14 ปี
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัดสิงห์บุรี ( มิ. ย.2550)
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
อัตราตายต่อประชากรแสนคนด้วยโรคไม่ติดต่อที่สำคัญ ปี พ.ศ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ขับเคลื่อนงานด้านโรคไม่ติดต่อ และการบาดเจ็บ
คู่มือสนับสนุนการดำเนินงานพัฒนาสุขภาพ กลุ่มวัยทำงานด้านโรคไม่ติดต่อ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการนำร่องการลดโอกาสเสี่ยงต่อการเกิด โรคหัวใจและหลอดเลือด วันจันทร์ที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๕๗ ณ โรงแรมโกลเด้นดราก้อนรีสอร์ท จังหวัดสิงห์บุรี ดร.นพ.ภานุวัฒน์ ปานเกตุ ผู้อำนวยการสำนักโรคไม่ติดต่อ

กลุ่มโรคเอ็นซีดี (NCDs) ปัญหาอันดับหนึ่ง : ร้อยละ 73 (3 ใน 4) ของการเสียชีวิตของคนไทยในปี 2552 (จำนวน 314,340 ราย) สูญเสียทางเศรษฐกิจ 198,152 ล้านบาท (2.2% GDP) หรือ 3,128 บาทต่อหัวประชากร ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา (2552 – 2556) อัตราตายด้วย โรค NCD ที่สำคัญมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น การเข้าถึงบริการดีขึ้น แต่.. การควบคุมสภาวะของโรค โดยเฉพาะเบาหวานยังไม่ ดีเท่าที่ควร ภาวะแทรกซ้อนทางไตค่อนข้างสูง ปัจจัยเสี่ยง โดยเฉพาะอ้วน มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ต่อเนื่อง พฤติกรรมเสี่ยงมีแนวโน้มลดลง แต่ยังไม่ดีพอ

อัตราตายต่อประชากรแสนคนด้วยโรคไม่ติดต่อที่สำคัญ ปี พ.ศ.2545 - 2556 ที่มา : สนย. ที่มา : สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

สภาพปัญหาและความสำคัญของปัญหา สภาพปัญหาและความสำคัญของปัญหา อัตราตายต่อประชากรแสนคนด้วยโรค CVD, IHD และ Stroke ข้อมูล ปี 2550 - 2556 สภาพปัญหาและความสำคัญของปัญหา หมายเหตุ : โรคหลอดเลือดหัวใจ (I20-I25) , โรคหลอดเลือดสมอง (I60-I69),โรคหัวใจและหลอดเลือด (I00-I99) ข้อมูล จากสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สป.

อัตราตายด้วยโรค CVD ต่อประชากรแสนคน ข้อมูลปี 2554-2556 จำแนกราย เขตบริการสาธารณสุข หมายเหตุ : โรคหลอดเลือดหัวใจ (I20-I25) , โรคหลอดเลือดสมอง (I60-I69),โรคหัวใจและหลอดเลือด (I00-I99) ข้อมูล จากสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สป.

เขตบริการสาธารณสุขที่ 4 อัตราตายด้วยโรค CVD ต่อประชากรแสนคน ข้อมูลปี 2554-2556 จำแนกรายจังหวัดใน เขตบริการสาธารณสุขที่ 4 หมายเหตุ : โรคหลอดเลือดหัวใจ (I20-I25) , โรคหลอดเลือดสมอง (I60-I69),โรคหัวใจและหลอดเลือด (I00-I99) ข้อมูล จากสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สป.

อัตราตายด้วยโรค IHD ต่อประชากรแสนคน ข้อมูลปี 2554 – 2556 จำแนกราย เขตบริการสาธารณสุข หมายเหตุ : โรคหลอดเลือดหัวใจ (I20-I25) , โรคหลอดเลือดสมอง (I60-I69),โรคหัวใจและหลอดเลือด (I00-I99) ข้อมูล จากสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สป.

อัตราตายด้วยโรค IHD ต่อประชากรแสนคน ข้อมูลปี 2554-2556 จำแนกรายจังหวัด ในเขตบริการสาธารณสุขที่ 4 หมายเหตุ : โรคหลอดเลือดหัวใจ (I20-I25) , โรคหลอดเลือดสมอง (I60-I69),โรคหัวใจและหลอดเลือด (I00-I99) ข้อมูล จากสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สป.

อัตราตายด้วยโรค Stroke ต่อประชากรแสนคน ข้อมูลปี 2554 – 2556 จำแนกราย เขตบริการสาธารณสุข หมายเหตุ : โรคหลอดเลือดหัวใจ (I20-I25) , โรคหลอดเลือดสมอง (I60-I69),โรคหัวใจและหลอดเลือด (I00-I99) ข้อมูล จากสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สป.

อัตราตายด้วยโรค Stroke ต่อประชากรแสนคน ข้อมูลปี 2554-2556 จำแนกรายจังหวัด ในเขตบริการสาธารณสุขที่ 4 หมายเหตุ : โรคหลอดเลือดหัวใจ (I20-I25) , โรคหลอดเลือดสมอง (I60-I69),โรคหัวใจและหลอดเลือด (I00-I99) ข้อมูล จากสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สป.

อัตราตายด้วยโรค IHD ต่อประชากรแสนคนจังหวัดสิงห์บุรี อ่างทองและระดับประเทศ ข้อมูล ปี 2550-2556 หมายเหตุ : โรคหลอดเลือดหัวใจ (I20-I25) , โรคหลอดเลือดสมอง (I60-I69),โรคหัวใจและหลอดเลือด (I00-I99) ข้อมูล จากสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สป.

อัตราตายด้วยโรค Stroke ต่อประชากรแสนคน จังหวัดสิงห์บุรี อ่างทองและระดับประเทศ ข้อมูล ปี 2550-2556 หมายเหตุ : โรคหลอดเลือดหัวใจ (I20-I25) , โรคหลอดเลือดสมอง (I60-I69),โรคหัวใจและหลอดเลือด (I00-I99) ข้อมูล จากสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สป.

อัตราป่วยในด้วยโรค CVD, IHD และ Stroke ต่อประชากรแสนคน ข้อมูล ปี 2551 - 2556 หมายเหตุ : โรคหลอดเลือดหัวใจ (I20-I25) , โรคหลอดเลือดสมอง (I60-I69),โรคหัวใจและหลอดเลือด (I00-I99) ข้อมูล ปี 2554 ไม่มีข้อมูล ข้อมูล จากสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สป.

ในเขตบริการสาธารณสุขที่ 4 อัตราป่วยในด้วยโรค IHD ต่อประชากรแสนคน ข้อมูลปี 2554 - 2556 จำแนกรายจังหวัด ในเขตบริการสาธารณสุขที่ 4 แหล่งข้อมูล : ฐานข้อมูลผู้ป่วยในรายบุคคล หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า และสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการและครอบครัว

อัตราป่วยในด้วยโรค IHD ต่อประชากรแสนคน จังหวัดสิงห์บุรี อ่างทอง และระดับประเทศข้อมูล ปี 2550-2556 แหล่งข้อมูล : ฐานข้อมูลผู้ป่วยในรายบุคคล หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า และสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการและครอบครัว

ในเขตบริการสาธารณสุขที่ 4 อัตราป่วยในด้วยโรค Stroke ต่อประชากรแสนคน ข้อมูลปี 2554-2556 จำแนกรายจังหวัด ในเขตบริการสาธารณสุขที่ 4 หมายเหตุ : โรคหลอดเลือดหัวใจ (I20-I25) โรคหลอดเลือดสมอง (I60-I69) แหล่งข้อมูล : ฐานข้อมูลผู้ป่วยในรายบุคคล หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า

อัตราป่วยในด้วยโรค Stroke ต่อประชากรแสนคน จังหวัดสิงห์บุรี อ่างทอง และระดับประเทศ ข้อมูล ปี 2550-2556 หมายเหตุ : โรคหลอดเลือดหัวใจ (I20-I25) โรคหลอดเลือดสมอง (I60-I69) แหล่งข้อมูล : ฐานข้อมูลผู้ป่วยในรายบุคคล หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า

วัตถุประสงค์โครงการ เพื่อลดโอกาสเสี่ยงต่อการเกิด โรคหัวใจและหลอดเลือด และ เชื่อมโยงกระบวนการจัดการโรคได้ อย่างเหมาะสม เพื่อศึกษากระบวนการลดโอกาสเสี่ยง ต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดใน พื้นที่นำร่องจังหวัดสิงห์บุรีและจังหวัด อ่างทอง

กิจกรรมดำเนินงาน กิจกรรมขั้นตอนการดำเนินงาน ปี พ.ศ.๒๕๕๗ ปี พ.ศ.๒๕๕๘ ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ๑. ประชุมเชิงปฏิบัติการชี้แจงโครงการฯ ๒. ดำเนินกิจกรรมตามโครงการ ๓. ติดตามความก้าวหน้า ผลการดำเนินงาน ๔. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้กระบวนการขับเคลื่อนและรูปแบบการลดโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด ๕. ประชุม สรุป ประเมินผลการดำเนินงาน วันที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๕๗ ณ โรงแรมโกลเด้นดราก้อน จ.สิงห์บุรี หมายเหตุ: 1. การติดตามความก้าวหน้า โดย สำนักโรคไม่ติดต่อ ครั้งที่ 2 จะเป็นสัปดาห์ที่ 1 ของเดือนสิงหาคม 2558 2. เวทีแลกเปลี่ยนฯ ในสัปดาห์ที่ 2 ของเดือน สิงหาคม 2558

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ อัตราป่วยรายใหม่ต่อประชากร แสนคนด้วยโรคหัวใจและหลอด เลือดลดลง ได้รูปแบบการดำเนินการลด โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจ และหลอดเลือด

NCD ขอบคุณครับ