โครงการพัฒนาระบบข้อมูล เพื่อการจัดการสุขภาพระดับอำเภอ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Homeward& Rehabilitation system
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
สกาวรัตน์ พวงลัดดา สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
ความก้าวหน้าของการพัฒนา Database
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
นำเสนอโดย นางสงวนศรี พลดอน พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลปัตตานี
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
การจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพพื้นที่ : จังหวัดลำพูน
กายภาพบำบัด ใน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพตำบล
ระบบข้อมูล/ระบบ GIS รพ.สต.
การดำเนินงานพัฒนา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลขนาดใหญ่/ ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง (รพ.สต./ศสม.) จังหวัดเลย.
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
บทบาท อสม.และภาคีเครือข่ายสุขภาพภาคประชาชนในการจัดการแก้ปัญหาน้ำท่วม
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
ข้อมูลที่จัดเก็บประกอบด้วย
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
สาขาหัวใจ ปัญหากิจกรรมสถานบริการ 1. STEMIยาละลายลิ่มเลือดพจก. 2. NSTEMIตรวจ ECHO CARDIOGRAPHY และทำการตรวจสวนหัวใจ พจก. 3. CARDIAC ARRHYTHMIA และ VHD ได้รับยา.
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
รพสต ชุดบริการ.
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
สรุปการประชุม เขต 10.
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
ประเด็นในการนำเสนอระบบข้อมูลสารสนเทศของ รพ.สต.
ทิศทาง การทำงาน๒๕๕๔ นพ.นิทัศน์ รายยวา 1.
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 นพ. นิทัศน์ รายยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สสจ.อุดรธานี
พี่เลี้ยงการพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
การใช้ระบาดวิทยา เพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังเหตุการณ์ในพื้นที่
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอ District Health System (DHS)
โครงการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้แบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน
IM I-4 การวัด วิเคราะห์ performance ขององค์กร และการจัดการความรู้
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
เพิ่มภาพ แผนที่ตำบล หรือภาพกิจกรรมชมรมสูงอายุในพื้นที่
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
สป.สธ. เลือกจากแผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
NAMPHONG DATA SYSTEM(NDS 1.0) by Samak Sonpirom
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แผนฟื้นฟูผู้ประสพอุทกภัย โครงการสายใยรักแห่ง ครอบครัวในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร.
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
โครงการ บูรณาการความร่วมมือภาคีเครือข่าย สร้างเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้ เพื่อผู้สูงอายุสุขภาพดี “80 ปี ยังแจ๋ว”
Unity Team (รวมกันเป็นหนึ่งเดียว) การทำงานร่วมกันและดำเนินงาน
กรอบการจัดทำแผนพัฒนาโรงพยาบาล ร้อยเอ็ด ประจำปี ๒๕๕๖ แนวคิด ปี ๒๕๕๖ ปีแห่งการวิเคราะห์และประเมิน ตนเองอย่างเข้มข้น วิเคราะห์เพื่อ พัฒนางาน ให้ได้ตาม มาตรฐาน.
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
การพัฒนาระบบสารสนเทศโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ประชาชน “อุ่นใจ” มีญาติทั่วไทย เป็นทีมหมอครอบครัว
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการพัฒนาระบบข้อมูล เพื่อการจัดการสุขภาพระดับอำเภอ รายงานความก้าวหน้า โครงการพัฒนาระบบข้อมูล เพื่อการจัดการสุขภาพระดับอำเภอ

ระยะที่ 1 ก.พ. 56 ธ.ค 57 ระยะที่ 2 ธ.ค.57 ก.ค. 58 Update ก.พ. 56 ธ.ค 57 ระยะที่ 2 ธ.ค.57 ก.ค. 58 Update เพิ่มฐานข้อมูลย่อย จัดฐานข้อมูล เฉพาะเรื่อง ฐานข้อมูลเดิม เพิ่มข้อมูล + ฐานข้อมูลย่อย หลังประชุมกับ ประชาคมตำบล เชื่อมข้อมูล ฐานข้อมูล องค์กรชุมชน พยาบาลชุมชน (ฐานข้อมูลหมู่บ้าน เพื่อการทำงาน) ฝ่ายต่างๆ - เภสัช - ทันตะฯ - พยาบาลชุมชน (ฐานข้อมูลฝ่ายเพื่อการทำงาน) ผู้สูงอายุ,- EOL ผู้พิการ, - จิตเวช ตั้งครรภ์ในวัยรุ่น, - LD NCD : DM,HT,CKD Cataract Infection : HIV,TB Fast tract : STEMI, HD, etc ข้อมูลพื้นฐานประชากร ข้อมูลแฟ้มประวัติผู้ป่วย ข้อมูลโรคเรื้อรัง(DM,HT) ข้อมูลการให้บริการผู้ป่วยนอก ข้อมูลการให้บริการผู้ป่วยใน ข้อมูลด้านการส่งเสริมสุขภาพ

แนวทางและระยะเวลาในการดำเนินงาน กิจกรรม ระยะเวลา 1. ศึกษาดูงานระบบ IT ต.ค.56 2. สร้างทีมจัดการข้อมูลระดับอำเภอ พ.ย.56 พัฒนาเครื่องมือแบบสอบถาม ก.พ. – ส.ค.57 4. พัฒนาโปรแกรม พ.ย.56 – ส.ค.57 5. อบรมเชิงปฏิบัติการการใช้โปรแกรม พ.ค.57 6. ทดลองใช้โปรแกรมที่ ต.น้ำพอง พ.ค.– ต.ค. 57 ประชุมเชิงปฏิบัติการแนะนำโปรแกรมNDSกับ เครือข่าย ต.น้ำพอง (อปท. ชุมชน รพ.สต. ฯลฯ) พ.ย. 57

แนวทางในการดำเนินงาน กิจกรรม ระยะเวลา 8. ขยายพื้นที่ - ประชุมเชิงปฏิบัติการแนะนำโปรแกรม NDS กับเครือข่าย 5 อำเภอ - อบรมเชิงปฏิบัติการทีมจัดการข้อมูล 5 อำเภอ ติดตั้งโปรแกรม และเก็บข้อมูล ธ.ค.57 9. เก็บข้อมูลในพื้นที่เป้าหมาย 30ตำบลใน5 อำเภอ ม.ค.58– มี.ค. 58 10.คืนข้อมูลให้พื้นที่ 30 ตำบล เม.ย.58 11. ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และประเมินผล พ.ค.58 12. สรุปผลการดำเนินงาน มิ.ย.56–ก.ค.58

รายงานความก้าวหน้า บันทึกข้อมูล เรียบร้อยแล้ว 4 หมู่บ้าน-1,8,11,15 อยู่ระหว่างการสำรวจ 9 หมู่บ้าน-3,4,5,9,10,12,14,16,17 ยังไม่สำรวจ 4 หมู่บ้าน 2,13,6,7 ข้อมูลเภสัชกรรม ข้อมูลทันตกรรม กายภาพบำบัด ข้อมูล อสม./เทศบาล

รายงานความก้าวหน้า เชื่อมโยงระบบฐานข้อมูลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เชื่อมโยงข้อมูลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ทำระบบ GIS สำหรับกลุ่มประชากรโรคเรื้อรังและประชากรกลุ่มสูงอายุ กำลังเชื่อมโยงข้อมูลกับระบบ Takis ของ สสจ.ขอนแก่น ระบบติดตามตัวชี้วัด KPI

ประชุมร่วมกลุ่ม อสม. จุดเสี่ยงรายหมู่บ้าน การเยี่ยมบ้านกลุ่มเป้าหมาย(คนพิการ,ผู้สูงอายุ,ตั้งครรภ์,หลังคลอด,ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง) โดย อสม. จนท. ความพอเพียงของถังขยะ สามารถตรวจสอบข้อมูลได้

ประชุมร่วมกลุ่ม เทศบาล. กลุ่ม/เครือข่าย(ประธาน,เลขา จำนวนสมาชิก) จำนวนโรงงาน….โรงงาน(ระบุชื่อ) แหล่งกำเนิดมลพิษ (ภาพ พิกัด) สถานบันเทิง/เสี่ยง(ชื่อ ภาพ พิกัด) ร้านเกม(ชื่อ ภาพ พิกัด) บ่อกำจัดขยะ(ภาพ พิกัด) กลุ่มผู้พิการ(ประเภท ขึ้นทะเบียน,ไม่ขึ้นทะเบียน) กลุ่มผู้สูงอายุ (ติดสังคม,ติดบ้าน,ติดเตียง) หลังคาเรือนมีการ คัดแยกขยะ(หมักทำปุ๋ย)

ข้อมูลผู้พิการ เลขบัตรประชาชน ประเภทคนพิการ การเกิดความบกพร่อง/พิการ สาเหตุของความบกพร่อง/พิการ ระดับความพิการ ระดับความสามารถคนพิการ ความต้องการอุปกรณ์ การเก็บข้อมูล ICF

เปรียบเทียบข้อดีและกับโปรแกรมสารภี เปรียบเทียบข้อดี ข้อเสีย โปรแกรมสารภี โปรแกรมน้ำพอง การบันทึกข้อมูล/นำเข้าข้อมูล คีย์ข้อมูลเองทั้งหมด คีย์ข้อมูลบางส่วนโดยเริ่มต้นจากข้อมูล 43 แฟ้ม สามารถทำงานได้ทุกอุปกรณ์ ทำได้ แสดงข้อมูลบนแผนที่ Google Map ได้ แสดงข้อมูลเป็นแบบรูปภาพได้

เปรียบเทียบข้อดีและกับโปรแกรมสาระภี เปรียบเทียบข้อดี ข้อเสีย โปรแกรมสารภี โปรแกรมน้ำพอง ความปลอดภัยของระบบ มีรหัสผ่าน/แบ่งชั้นระดับ ระบบรายงาน สารสนเทศ ??? อยู่ในการปรับปรุง ยังไม่ตอบสนองผู้ใช้งาน สามารถ ติดตั้งโปรแกรมผ่าน Play Store/Apple Store ทำให้ติดตั้งโปรแกรมได้ง่าย ทำได้ ยังทำไม่ได้ ติดตั้งผ่าน URL มีค่าใช้จ่าย มี ฟรี

ปัญหาอุปสรรค โปรแกรมโหลดข้อมูลช้าเนื่องจาก -ระบบอินเตอร์เน็ตของโรงพยาบาลวิ่งออก TOT เส้นทางเดียวให้บริการทั้งอินเตอร์เน็ตภายในโรงพยาบาลและโปรแกรม -คุณสมบัติของอุปกรณ์ที่ใช้สำรวจและระบบเครือข่ายที่ใช้ 2.ไม่สามารถย้ายประชากรหลังคาเรือนอื่นได้ 3.ฝนตกบ่อย ไม่สามารถออกสำรวจได้ทุกวัน

เตรียมความพร้อมสำหรับอำเภออื่น เครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายพร้อม PUBLIC IP ขึ้นระบบโปรแกรมพร้อมนำเข้าฐานข้อมูล 43 แฟ้ม บุคลากรดูแลระบบ(Administrator) ผู้พัฒนาโปรแกรม(Programmer)สำหรับพัฒนาโปรแกรมเพื่อต่อยอดพร้อมอบรมเทคนิคการพัฒนาโปรแกรม อบรมเจ้าหน้าที่ออกสำรวจข้อมูล อุปกรณ์สำหรับออกสำรวจข้อมูล(SmartPhone,Tablet)

Thank you!