สังคมวิทยาอุตสาหกรรม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทางออก ทางรอดชนบทไทย ในกระแสอาเซียน”
Advertisements

ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
สมชัย จิตสุชน สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย 16 กุมภาพันธ์ 2550
การพัฒนาเศรษฐกิจ ความหมาย
เศรษฐกิจพอเพียงกับบริการสุขภาพ ในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10
ยุ ทธศาสตร์ การพัฒนาสุขภาพ เศรษฐกิจพอเพียง กับ.
กรอบแนวคิดการพัฒนาทุนชุมชน
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
เศรษฐกิจพอเพียง.
หัวใจของแผน HRD หัวใจของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
แนวคิด ในการดำเนินงาน
แผนแม่บทงานวิจัย การสร้างเครือข่าย และการสนับสนุนงานวิจัยเชิงพาณิชย์
สังคมวิทยาอุตสาหกรรม
Sociology of Development
Sociology of Development
การพัฒนาสังคม Social Development 5 : 16 ธ.ค. 54.
Sociology of Development
การพัฒนาสังคม Social Development 1-2 : 18/25 พ.ย.54.
สังคมวิทยาอุตสาหกรรม ครั้งที่ 2-3 : วิกฤตการณ์การพัฒนา
ด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
วิสัยทัศน์ สหกรณ์และสถาบันเกษตรกร มีความเข้มแข็ง เป็นพลังในการพัฒนาประเทศ และสมาชิกอยู่ในสังคมที่อยู่เย็นเป็นสุข.
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
ความเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบต่อการศึกษาและวิชาชีพครู ในปัจจุบันและอนาคต
สวัสดิการสังคมไทย ในแผนฯ 11
เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม
การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในชุมชน
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
นายกิติศักดิ์ สินธุวนิช รองเลขาธิการฯ 30 มิถุนายน 2549
โดย สมภพ อมาตยกุล 21 กันยายน 2548
(บรรยายหลักสูตรนักบริหารระดับกลาง กระทรวงมหาดไทย)
การจัดการที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัย โดยขบวนองค์กรชุมชนและท้องถิ่น
สำนักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
การประชุมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ด้านนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปี 2549.
ความก้าวหน้าการจัดทำแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
วัตถุประสงค์ และผลผลิตหลักโครงการ
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
ยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดมหาสารคาม.
ชูศักดิ์ วิทยาภัค คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
บทที่ 8 นโยบายการค้าระหว่างประเทศ
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรับค่าแรง300 บาทมีผลกระทบ เศรษฐกิจประเทศไทยจริง?
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
สังคมไทยที่พึงประสงค์ เข้มแข็งและมีดุลยภาพ 3 ด้าน
ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
การจัดการองค์ความรู้ ระบบการผลิตที่ยั่งยืน ความพอเพียงในการดำรงชีพ
Evaluation of Thailand Master Plan
สรุปการฝึกอบรม วันแรก แรงบันดาลใจ ความ คาดหวัง วิเคราะห์สถานการณ์ แรงงานจากวิกฤติ เศรษฐกิจ กรณีศึกษาที่เกิดขึ้น จริง ประวัติศาสตร์แรงงาน ไทย วันที่สอง.
นายพนาสิน หอมจิตต์ ชั้น ปวช 1 เลขที่ 11 กลุ่ม 1 แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
"วาริชภูมิน่าอยู่ ผู้คนสุขภาพดี ภาคี เข้มแข็ง"
หน่วยการเรียนที่ 2 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรทางธรรมชาติ
วิสัยทัศน์การพัฒนาตำบล
แนวคิดและทิศทางการพัฒนาประเทศ
การทบทวน ยุทธศาสตร์ การพัฒนาจังหวัด ปทุมธานี พ. ศ
อนาคตเศรษฐกิจไทย ก้าวไกลสู่ตลาดทุน
 กระแสการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่าง กว้างขวางทำให้เกิดการติดต่อด้านเศรษฐกิจ ระหว่างประเทศ สร้างตลาดการค้า การ แข่งขัน การส่งออก การบริการ การลงทุนและ.
นิเวศวิทยาการเมือง : ความยั่งยืนทางนิเวศในสังคมไทย
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
การเลือกสถานที่ตั้งโรงงาน
วิสัยทัศน์ “สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ด้วยความเสมอ ภาค เป็นธรรม และมีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลง”
หน่วยที่ ๗ แนวโน้มสังคมไทย และแนวทางเลือก.
เศรษฐกิจพอเพียง นางสาวสุนิสา จันทร์ตะบูน ชั้น ปวช 1 เลขที่ 20 กลุ่ม 2
การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable development)
สังคมวิทยาอุตสาหกรรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

01460325 สังคมวิทยาอุตสาหกรรม Industrial Sociology ครั้งที่ 4 : ภาวการณ์เปลี่ยนแปลงกับ วิกฤตการณ์การพัฒนา 4 : 7 ก.พ. 58

ความหมาย “คุณภาพชีวิต (Quality of Life)” มิติของคุณภาพชีวิต คุณภาพทางจิตใจ คุณภาพ ทาง จิตวิญญาณ คุณภาพทางสังคม คุณภาพทางกายภาพ

คุณภาพชีวิตทางกายภาพ : ระดับความเป็นอยู่ประชาชนแง่วัตถุ สิ่งของและสิ่งปลูกสร้างต่างๆ ประกอบด้วย - ปัจจัย 4 : อาหาร ที่อยู่ เสื้อผ้าและยารักษาโรค - สิ่งก่อสร้างและการบริการขั้นพื้นฐาน : เส้นทางคมนาคม ระบบ ไฟฟ้า น้ำประปา สถานศึกษาและสาธารณสุข สวนสาธารณะ ศูนย์กลางค้า สถานบริการและอื่นๆ - เครื่องมือ เครื่องใช้และอุปกรณ์ : สิ่งอำนวยความสะดวก ได้แก่ ยานพาหนะ โทรทัศน์ โทรศัพท์ เครื่องใช้และอื่นๆ

: ระดับความเป็นอยู่ประชาชนที่มีการอยู่ร่วมกันด้วยดีในครอบครัว คุณภาพชีวิต คุณภาพชีวิตทางจิตใจ : ระดับความเป็นอยู่ประชาชนไม่ใช่วัตถุ สิ่งของและสิ่งปลูกสร้าง ความเชื่อมั่นใจ การพึ่งตนเอง การมีศักดิ์ศรี การเข้ามีส่วนร่วม ภาวะ จิตใจสงบสุข ผ่อนคลาย ไม่เครียด คล่องแคล่ว มีความเมตตา กรุณา มีสติ มีสมาธิ เป็นต้น คุณภาพชีวิตทางสังคม : ระดับความเป็นอยู่ประชาชนที่มีการอยู่ร่วมกันด้วยดีในครอบครัว ชุมชน สังคมและโลกอย่างสงบและสันติภาพ รวมถึงการได้รับบริการ ทางสังคม หรือบริการจากรัฐที่ดี เป็นต้น

คุณภาพชีวิตทางจิตวิญญาณ : ระดับความเป็นอยู่ประชาชนที่มีความสุขจากการมีจิตใจสูง รู้จัก เสียสละเข้าถึงความจริงทั้งหมด - การลด ละ เลิกความเห็นแก่ตัว - มุ่งถึงความดีสูงสุด/ภาวะคุณภาพชีวิตทางจิตวิญญาณ เป็นมิติทางคุณค่าที่สูงสุดเหนือไปจากโลกหรือทางวัตถุ การมี ศรัทธาและการเข้าถึงคุณค่าที่สูงส่ง ทำให้เกิดความสุขอันลึกล้ำ

มนุษย์เป็นแกนกลางของการพัฒนา ประเด็นพิจารณา มนุษย์เป็นแกนกลางของการพัฒนา เทคโนโลยี Technology สังคม Social มนุษย์ Human เศรษฐกิจ Economic สิ่งแวดล้อม Environment

วัตถุนิยม ค่านิยมต่างประเทศ ทุนต่างประเทศ แรงกดดันต่างประเทศ แผนพัฒนา ปรับตัว รวดเร็ว ชุมชน เข้มแข็ง นโยบายการเงิน นโยบายการคลัง เพิ่มทุน ทางสังคม ความต้องการให้สิ่งแวดล้อมดีขึ้น สังคมยอมรับ ธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรม เศรษฐกิจ พอเพียงและยั่งยืน สะสม ทรัพย์สิน วัตถุนิยม แก้ไขกฎหมาย และนโยบาย ความต้องการ บริโภค ขยายการผลิต และบริการ กอบโกย ทรัพย์สิน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม กลับสู่สมดุล การใช้ ทรัพยากร เพิ่มขีด ความสามารถ คุ้มค่า ประสิทธิภาพ ไม่ทำลาย จัดสรรทรัพยากร อย่างยุติธรรม คงความหลากหลาย ทางชีวภาพ ลดความขัดแย้ง บริหารจัดการที่ดี กลไกรัฐและเอกชน การมีส่วนร่วม เพิ่มประสิทธิภาพ การใช้และรักษาสิ่งแวดล้อม สังคมสงบและพัฒนา สังคมพึ่งพาและ พัฒนาตัวเอง แผนพัฒนา

กรอบแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืน “การพัฒนาที่มีดุลยภาพระหว่างมิติ : ทางเศรษฐกิจ : ทางสังคม : ทางทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อย่างเกื้อกูลกันเพื่อความอยู่ดีมีสุขของประชาชนตลอดไป”

THAILAND

ทุน ทุนธรรมชาติ (natural capital) ทุนทางสังคม ทุนมนุษย์ (Social capital) ทุนมนุษย์ (Human capital) ทุนทางเศรษฐกิจ (Economic capital)

การเปลี่ยนแปลงในบริบทของการพัฒนา 1 การเปลี่ยนแปลงในบริบทของการพัฒนา 1. การรวมตัวของเศรษฐกิจโลก 2. เทคโนโลยี 3. แนวโน้มประชากรและสังคม 4. ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 5. พฤติกรรมการบริโภค

การรวมกลุ่มและความเชื่อมโยงเศรษฐกิจโลก การรวมตัวเศรษฐกิจระดับทวิภาคี ภูมิภาค และพหุภาคี และบทบาทเศรษฐกิจ ของเอเชียที่เพิ่มขึ้นโดยเฉพาะจีน และอินเดีย ผลของความไม่สมดุลของเศรษฐกิจสหรัฐ ต่อค่าเงิน การรวมกลุ่มและความเชื่อมโยงเศรษฐกิจโลก การเคลื่อนย้ายเงินทุนในโลกมีมากขึ้น Hedge Funds เก็งกำไรในเงินและราคาสินค้า จะมีกฎ ระเบียบ การกำกับตรวจสอบ และธรรมาภิบาลของสถาบันการเงิน และธุรกิจเอกชนที่เข้มงวดขึ้น เช่น Basel II, COSO2 เป็นต้น

เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร เทคโนโลยี เทคโนโลยีชีวภาพ เทคโนโลยีวัสดุ นาโนเทคโนโลยี

ประชากร ประชากรและสังคม สุขภาพ ความปลอดภัยในสังคม วัฒนธรรมและค่านิยม

มาตรการการค้าไม่ใช่ภาษี ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ข้อผูกพันระดับโลก ปัจจัยการผลิต

การขยายตัวของความเป็นเมือง โครงสร้างอายุ รูปแบบการบริโภค รายได้ การขยายตัวของความเป็นเมือง

หลักการพื้นฐานการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจและสังคม ฐานเศรษฐกิจที่มั่นคงและยั่งยืน Economic stability and sustainability เพิ่มมูลค่าผลผลิตด้วยฐานความรู้ Value creation from knowledge application Sustained Prosperity More Balanced Structure Better Distribution เชื่อมโยงกับเศรษฐกิจโลก และภูมิภาค Global and regional positioning นโยบายสังคมเชิงรุก Proactive social policy to create positive externality

Economic Restructuring Agriculture Industry Service Economic Restructuring Value Chain by Cluster Sustained Prosperity More Balanced Structure Better Distribution Infrastructure and Logistics S&T, R&D, Innovation Macroeconomic Policy Human Resource Development Laws and Regulations

โครงสร้างเศรษฐกิจและสังคม ยุทธศาสตร์เพิ่มมูลค่าภาคการเกษตรและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ยุทธศาสตร์เพิ่มมูลค่าภาคอุตสาหกรรม และการค้าระหว่างประเทศ ยุทธศาสตร์การปรับ โครงสร้างเศรษฐกิจและสังคม ยุทธศาสตร์การขยายฐานภาคบริการ ยุทธศาสตร์การพัฒนาสังคมเชิงรุก ยุทธศาสตร์ความมั่นคงและการต่างประเทศ ยุทธศาสตร์การปรับปรุงประสิทธิภาพภาครัฐ

กรอบทิศทางการพัฒนาประเทศในระยะ 10-15 ปีข้างหน้า ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สู่การพัฒนาที่สมดุล มีคุณภาพ และยั่งยืน สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ มีคุณภาพ เสมอภาคและสมานฉันท์ สร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจอย่างมีคุณภาพ ปรับตัวได้มั่นคงและกระจายการพัฒนาที่เป็นธรรม จัดการและคุ้มครองฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนเพื่อผลประโยชน์ต่อคนรุ่นอนาคต พัฒนาศักยภาพคนและการปรับตัวบนสังคมฐานความรู้ พัฒนาเศรษฐกิจอย่างมีเสถียรภาพ และมีภูมิคุ้มกันที่พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง พัฒนาคุณภาพชีวิต และความมั่นคงในการดำรงชีวิต สงวนรักษาทรัพยากร ธรรมชาติทั้งการใช้ การป้องกัน และการจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ สร้างความเสมอภาคและการมีส่วนร่วมของภาคีการพัฒนาในการบริหารจัดการสังคมที่ดี ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจที่สมดุล พึ่งตนเองและเข่งขันได้ด้วยฐานความรู้ จัดการและธำรงไว้ซึ่งคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่ดี กระจายผลประโยชน์ของการพัฒนาทางเศรษฐกิจอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม สร้างภูมิคุ้มกันและความเข้มแข็งของทุนทางสังคมให้เกิดสันติสุข สมานฉันท์ และเอื้ออาทรต่อกัน กระจายการใช้ทรัพยากรอย่างเป็นธรรมและการมีส่วนร่วมของประชาชน

วิกฤตการแห่งการพัฒนา หลังสงครามโลก II 1945 การตั้งองค์การสหประชาชาติ 1943 ทบทวนความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ประเทศที่ร่ำรวย/พัฒนาแล้วช่วยเหลือประเทศยากจน/ด้อยพัฒนา ประเทศสหรัฐอเมริกามีบทบาทมาก ประเทศทุกประเทศทั่วโลกมีความเท่าเทียมกัน คำประกาศประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา Truman หน้าที่ประเทศพัฒนาแล้วต้องช่วยเหลือประเทศด้อยพัฒนา

วิกฤตการแห่งการพัฒนา ประเทศโลกที่ 1 = ประเทศ เสรีนิยมอุตสาหกรรม การแบ่งกลุ่มประเทศเชิงการเมือง ประเทศโลกที่ 2 = ประเทศสังคมนิยม ประเทศโลกที่ 3 = ประเทศ ด้อยการพัฒนา แนวทางความช่วยเหลือ แนวทางเสรีนิยมประชาธิปไตย องค์กรระดับโลกทำหน้าที่ เศรษฐกิจและการเงิน - องค์การสหประชาชาติ เทคนิคและเชี่ยวชาญ - ธนาคารโลก ทหารและการเมือง - กองทุนการเงินระหว่างประเทศ

วิกฤตการแห่งการพัฒนา ความช่วยเหลือปรับปรุงโครงสร้างสาธารณูปโภคพื้นฐานเพื่อเพิ่มกำลังการผลิต ธนาคารโลก ความช่วยเหลือทางเทคนิค ด้านผู้เชี่ยวชาญ คำขอความช่วยเหลือ ประเทศโลกที่ 3 กองทุนการเงินระหว่างประเทศ เงินทุนสำรองระหว่างประเทศสำคัญ ความช่วยเหลือให้แก่ประเทศ ทั่วไป : ขัดข้องเงินทุนสำรอง สกุลดอลลาร์สหรัฐฯ

วิกฤตการแห่งการพัฒนา เร่งรัดอุตสาหกรรมเป็นแกนนำ การสร้างความเจริญทางเศรษฐกิจ Modernization Theory สร้างความเป็นเมือง ปรับระบบการบริหาร ระดับการพัฒนา ปัญหาสะสมและรุนแรง - ความเหลื่อมล้ำและแตกต่าง เศรษฐกิจขยายตัว เมืองเติบโตรวดเร็ว - การพึ่งพาต่างประเทศ การบริการเพิ่มขึ้น - ความถดถอยของประเทศ

วิกฤตการแห่งการพัฒนา ทางเศรษฐกิจ(Economic) ภาวะการพึ่งพา ทางเศรษฐกิจ(Economic) - การผูกขาดทางการตลาด ผู้ประกอบการในประเทศ เติบโตค่อนข้างช้า ทางการเมือง (Political) - การดำเนินนโยบาย - การแทรกแซง

วิกฤตการแห่งการพัฒนา ปฏิรูประบบโครงสร้างทางเศรษฐกิจ การเมืองและสังคม - ลักษณะเฉพาะทาง ความสัมพันธ์ทางการเมือง ปฏิรูประบบโครงสร้างทางเศรษฐกิจ การเมืองและสังคม - คุณลักษณะทางวัฒนธรรม และจริยธรรมของประเทศ Concrete Situations - ความเป็นมาและพัฒนาการสังคม - พื้นฐานระบบการผลิตและความชำนาญ - ระบบสังคม วัฒนธรรมและการเมือง

วิกฤตการแห่งการพัฒนา ความมุ่งหมายประเทศกำลังพัฒนา - ศักยภาพการพึ่งตนเอง (Self-reliance) - ขีดความสามารถทาง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ความสัมพันธ์ระหว่าง : - ระบบเศรษฐกิจ - เพิ่มอำนาจการเจรจาต่อรอง บรรษัทข้ามชาติ/ทุนนิยม - ระบบสังคม - ภาวะพึ่งพากันปราศจากการ ครอบงำและขูดรีด (Interdependence) - ระบบการเมือง - ระบบวัฒนธรรม - ระบบทรัพยากร

วิกฤตการแห่งการพัฒนา - รายได้ไม่ใช่สิ่งสำคัญต่อ การพัฒนา การเปลี่ยนแปลง ความคิด - อุตสาหกรรมไม่ได้เป็น แนวทางการพัฒนา ความหมายการพัฒนา ที่แท้จริง - กลไกการตลาดไม่ใช่นำไปสู่ การพัฒนาที่ดีเสมอ การพัฒนาเมือง = การพัฒนาชนบท การพัฒนาอุตสาหกรรม = การพัฒนาเกษตรกรรม เทคโนโลยีชั้นสูง = เทคโนโลยีพื้นฐาน ความสมดุล = ความแตกต่าง

วิกฤตการแห่งการพัฒนา บริบทพื้นฐานแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืน "ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง" ความสำคัญกับการพัฒนา= ดุลยภาพ ดุลยภาพทางสังคม ดุลยภาพที่เกื้อกูลและ ไม่เกิดความขัดแย้ง กันและกัน ดุลยภาพทางเศรษฐกิจ ดุลยภาพทางสิ่งแวดล้อม