หลักการและแนวทางจัดการสุขาภิบาลอาหารและน้ำ บรรยายโดย นางสุรีย์ วงศ์ปิยชน ผู้อำนวยการสำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2554
สถานการณ์ของโรคที่เกิดจากอาหารและน้ำเป็นสื่อ อัตราป่วย (จำนวน/แสนประชากร) อัตราตาย สถานที่เกิดเหตุ อาหารที่เป็นสาเหตุ Food Poisoning 181.9 0.02 งานเลี้ยง อาหารในโรงเรียน อาหารปรุงที่บ้าน สถานประกอบการด้านอาหาร อาหารทะเลสุกๆ ดิบๆ ขนมจีน ลาบเนื้อดิบๆ สุกๆ นมโรงเรียน น้ำดื่ม น้ำแข็งบด หนอนไหม แมลงทอด พิษจากพืช/สัตว์ ตามธรรมชาติ Acute diarrhea 1661.23 0.15 ผู้สัมผัสอาหาร เป็นบุคคลสำคัญ ที่ทำให้เกิดความเสี่ยงในการเกิดโรค ข้อมูล : รายงานการเฝ้าระวังโรค ปี 2544 - 2552 สำนักระบาดวิทยา
จากข้อมูลที่กล่าวมา ผู้บริโภคยังคงตกอยู่ในภาวะเสี่ยงต่อการเจ็บป่วย ด้วยโรคที่เกิดจากอาหารและน้ำเป็นสื่อ ทั้งจากสถานประกอบการด้านอาหารและครัวเรือน หน้าที่ที่หน่วยงานภาครัฐต้องเข้ามาดูแล ควบคุม และ ป้องกันภาวะเสี่ยงและผลกระทบที่จะเกิดขึ้น
ผลกระทบจากการเจ็บป่วยอันเนื่องมาจาก การบริโภคอาหารที่ไม่สะอาด ชื่อเสียงด้านการท่อง เที่ยว ผลกระทบ การค้าระหว่างประเทศ ผู้ป่วย สถานประกอบการด้านอาหาร ห้อง ปฏิบัติ การ หน่วย งานท้องถิ่น สถาน พยาบาล
การปนเปื้อนของอาหารสามารถเกิดขึ้นได้ดังนี้ แหล่งเพาะปลูก/เลี้ยงสัตว์ การเก็บเกี่ยว/ฆ่า/ชำแหละ/แปรรูป บรรจุ/ขนส่ง จำหน่าย เตรียม/ปรุง/ผลิต บริโภค พาหนะไม่ได้มาตรฐาน สถานที่ : ตลาด,รถเร่ ซุปเปอร์มาร์เก็ต การวางจำหน่าย/การเก็บ ภาชนะ,การเก็บอาหาร ไม่ถูกสุขลักษณะ สุขนิสัยการบริโภคไม่ดี ร้านอาหาร/แผงลอย/ โรงอาหารในโรงเรียน/ โรงครัวในโรงพยาบาล ครัวเรือน การจัดอาหารในเทศกาลต่าง ๆ เช่น โต๊ะจีน/มหกรรมอาหาร ภาชนะ/การเก็บไม่ถูกต้อง สารเคมีกำจัดศัตรูพืช/ปุ๋ย - ฮอร์โมน/ยาปฏิชีวนะ - การปนเปื้อนจากสภาวะแวดล้อม สถานที่/กรรมวิธี/ชำแหละ/การเก็บไม่ถูกสุขลักษณะ ภาชนะ/การเก็บ/ผู้ปรุง
การจัดการและควบคุมอาหาร ให้สะอาด ปลอดภัย สาเหตุที่ทำให้ อาหาร ไม่ปลอดภัย เชื้อโรค, พยาธิ พิษของเชื้อโรค พิษจากสารเคมี พิษจากพืชและสัตว์ วัตถุแปลกปลอมที่เป็นอันตราย 1. บุคคล : ผู้จัดการ/ผู้ประกอบการ/ผู้สัมผัสอาหาร 2. อาหาร 3. ภาชนะอุปกรณ์ 4. สถานที่ปรุง ประกอบ และ จำหน่ายอาหาร 5. สัตว์ แมลงนำโรค ควบคุมและ ป้องกันโดยวิธีการ ทางสุขาภิบาล อาหาร อาหาร สะอาด ผู้บริโภค สุขภาพดี
แจ้งเบาะแส เมื่อพบปัญหา ความร่วมมือของภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การดำเนินงานด้านสุขาภิบาลอาหารประสบความสำเร็จ เจ้าหน้าที่ (Food Inspector) ผู้ประกอบการ ด้านอาหาร ผู้บริโภค ชมรมผู้ประกอบการค้าอาหาร สมาคม Food Spy ชมรมผู้บริโภค เลือกซื้ออาหารจากสถานที่ปรุง ประกอบ จำหน่ายที่ได้มาตรฐาน ผลิตและ จำหน่ายอาหารที่สะอาด ให้ความร่วมมือปฏิบัติตามคำแนะนำ ให้ความรู้ ตรวจแนะนำ รับรองมาตรฐาน ตามกฎหมาย แจ้งเบาะแส เมื่อพบปัญหา เผยแพร่ความรู้
บทบาทเจ้าหน้าที่ในการจัดการสุขาภิบาลอาหาร (เจ้าหน้าที่ท้องถิ่นหรือเจ้าหน้าที่สาธารณสุขซึ่งรับผิดชอบงานสุขาภิบาลอาหาร) จัดอบรมให้ความรู้ แก่ผู้ประกอบการค้าอาหาร ตรวจสอบ แนะนำ ควบคุม กำกับและเฝ้าระวัง เผยแพร่ความรู้ ให้แก่กลุ่มผู้บริโภค
ระบบการจัดการสุขาภิบาลอาหาร ระบบการจัดการน้ำบริโภค ของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
Thailand Environmental Health Traditional Functions Modern Functions ระดับพื้นฐาน การควบคุมน้ำบริโภค การสุขาภิบาลอาหาร การจัดการสิ่งปฏิกูล การจัดการมูลฝอย การบังคับใช้กฎหมาย ระดับกลาง การรองรับภาวะฉุกเฉินและภัยพิบัติ การจัดการเหตุรำคาญ การจัดการกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ระดับก้าวหน้า การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ การจัดการมูลฝอยอันตราย การจัดการมูลฝอยติดเชื้อ Thailand Environmental Health Service Standard
ระบบการจัดการสุขาภิบาลอาหาร ของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 1. กระบวนงานรับรอง สปก. ตาม พรบ. สธ. 2535 (ร้าน/ แผง/ ตลาดประเภท 1) 2. กระบวนงานพัฒนาศักยภาพ จนท./ ผู้ประกอบกิจการ/ผู้สัมผัสอาหาร 3. กระบวนงานเฝ้าระวังด้านสุขาภิบาล อาหาร 4. กระบวนงานสื่อสารสาธารณะ 5. กระบวนงานร้องเรียน สปก. ด้าน ระดับพื้นฐาน ระดับกลาง ระดับก้าวหน้า
ระบบการจัดการสุขาภิบาลอาหารของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มาตรฐานงาน ตัวชี้วัด 1.กระบวนงานรับรองสถานประกอบการด้านอาหารฯ เกณฑ์มาตรฐานด้านสุขาภิบาลอาหาร การออกข้อกำหนดของท้องถิ่น การตรวจแนะนำสถานประกอบการ การออกใบอนุญาต/หนังสือรับรองการแจ้ง การควบคุมหลังการออกใบอนุญาตฯ (สุ่มประเมิน) 2. กระบวนงานพัฒนาศักยภาพฯ - เจ้าหน้าที่มีความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหาร เจ้าของกิจการ/ผู้ควบคุมดูแล สปก มีความรู้ด้าน สุขาภิบาลอาหาร ผู้สัมผัสอาหารมีความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหาร
3.กระบวนงานเฝ้าระวังด้าน สุขาภิบาลอาหาร มาตรฐานงาน ตัวชี้วัด 3.กระบวนงานเฝ้าระวังด้าน สุขาภิบาลอาหาร รายงานสถานการณ์ด้านสุขาภิบาลอาหาร แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเฝ้าระวัง วิเคราะห์สถานการณ์ด้านสุขาภิบาลอาหาร ในพื้นที่ กำหนดประเด็นปัญหาสุขาภิบาลอาหารและ ดำเนินการเฝ้าระวังฯ ในพื้นที่ 4. กระบวนงานสื่อสารสาธารณะ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมประชาสัมพันธ์ ด้านสุขาภิบาลอาหาร เผยแพร่ประชาสัมพันธ์เพื่อแก้ไขปัญหาด้าน สุขาภิบาลอาหารที่พบในพื้นที่ การสื่อสารผ่านสื่อบุคคล หรือกระบวนการ ทางสังคมเพื่อให้เกิดนโยบายสาธารณะด้าน สุขาภิบาลอาหาร
สถานประกอบการด้านอาหาร มาตรฐานงาน ตัวชี้วัด 5. กระบวนงานร้องเรียน สถานประกอบการด้านอาหาร ช่องทางการร้องเรียน ทะเบียนรับเรื่องร้องเรียน ระบบการแก้ปัญหาเรื่องร้องเรียน
ระบบการจัดบริการน้ำบริโภค ของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 1. กระบวนงานพัฒนาคุณภาพน้ำประปาได้ ตามเกณฑ์มาตรฐานน้ำประปาดื่มได้ 2. กระบวนงานพัฒนาคุณภาพน้ำบริโภค ประเภทต่างๆ ได้ตามเกณฑ์มาตรฐานน้ำ บริโภคกรมอนามัย 3. กระบวนงานเฝ้าระวังคุณภาพน้ำบริโภคใน พื้นที่เสี่ยง ระดับพื้นฐาน ระดับกลาง ระดับก้าวหน้า
1.ระบบการพัฒนาคุณภาพน้ำประปา ได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน น้ำประปาดื่มได้ มาตรฐานงาน ตัวชี้วัด 1.ระบบการพัฒนาคุณภาพน้ำประปา ได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน น้ำประปาดื่มได้ 1.ระบบประปาผลิตน้ำประปาที่ คุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน 2. ระบบการพัฒนาคุณภาพน้ำบริโภค ประเภทต่างๆ ได้ตามเกณฑ์ มาตรฐานน้ำบริโภค กรมอนามัย 2.สัดส่วนประชากรเข้าถึงน้ำบริโภค ที่คุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน - ในเขตเมือง - ในเขตชนบท
มาตรฐานงาน ตัวชี้วัด 3. ระบบการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำ บริโภคในพื้นที่เสี่ยง มีการเฝ้าระวังการปนเปื้อนของฟลูออไรด์/สารหนู ฯลฯ ในน้ำบริโภค
สวัสดี