การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
มหาวิทยาลัยนครพนม.
Advertisements

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาระดับ ปวส
ผลการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิคตัวต่อ วิชาคอมพิวเตอร์ และระบบปฏิบัติการเบื้องต้น สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
นางปราณี ธำรงสุทธิพันธ์
งานวิจัยการเรียนการสอน การสร้างและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจ วิชาการหาข้อมูลทางการตลาด.
ชื่อเรื่อง การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสามมิติเพื่อพัฒนาการเรียน การสอนหน่วยที่ 1 การบำรุงรักษาเครื่องยนต์เล็ก วิชางานเครื่องยนต์เล็ก รหัส
วิทยาลัยเทคโนโลยีวชิราโปลีสงขลา อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา
นางสาวจุฑารัตน์ ลุนพงษ์
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
การใช้วิธีสอนแบบซินดิเคทในการสอนวิชาภาษาไทย
ผู้วิจัย นางบุปผา แย้มชุติ
ภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา 2556 นางสาวกรรณิการ์ นัยผ่องศรี
งานวิจัย เรื่อง การใช้ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
ABAT วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
นางสาวสุภัทรา สุขวัฒนา วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
นางฐานิตา ทองศิริ นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสาม
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาโปรแกรมประยุกต์ทางคอมพิวเตอร์ โดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 สาขาคอมพิวเตอร์วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
ผลของการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อ ผลสัมฤทธิ์และความสนใจในการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 โรงเรียนสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี
ชื่อเรื่อง การแก้ปัญหานักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์ในรายวิชา โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึ่มของนักศึกษาปวส. 1/2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจสงขลา โดยใช้วิธีการสอนแบบร่วมมือ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
เรื่องเลขยกกำลัง วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานอาชีพ
นายสุชาติ ประวัติ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค)
วิจัยประเภทการเรียนการสอน
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
ผู้วิจัย : นางอรัญญา อนุจารีวัฒน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
งานวิจัย เรื่อง การฝึกทักษะ 5 ประการที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ประยุกต์ 1 เรื่องระบบจำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม ของนักเรียนชั้น ปวช.
นางสุทัศนีย์ พลเตชา ผลงานวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์
สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
การใช้โปรแกรม GSP พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
การพัฒนาผลการเรียนรู้ ความคิดสร้างสรรค์ และความเข้าใจคงทน
งานวิจัยเรื่อง การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบัญชีเบื้องต้น 1 ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.ปีที่ 1 สาขา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ โดยใช้วิธีการเรียนแบบร่วมมือกลุ่มกัลยาณมิตร.
ผลงานวิจัย โดย อ. หัสยา วงค์วัน
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้วิชาหลักการจัดการ
นางสาวประพันธ์ศรี สมจันทร์ฉาย
สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ใช้เกมพัฒนาทักษะการพิมพ์สัมผัส ของนักเรียนระดับชั้น ปวช.2
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
***นำเสนอผลงานวิจัย***
งานวิจัยในชั้นเรียน เรื่อง พัฒนาการสอนแบบสาธิตร่วมกับการลงมือปฏิบัติเรื่อง การตะไบผิวเรียบเพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน อาจารย์ ว่าที่ ร.ต. ศุภกร.
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย โดยจัดกิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ ด้วยวิธี STAD ของนักเรียน 501 สาขางานการบัญชี
การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( )
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
การใช้กิจกรรมกลุ่มเกมแข่งขันเพื่อส่งเสริมความรู้ด้านไวยากรณ์และความสามารถด้านการเขียนภาษาอังกฤษของนักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงชั้นปีที่
นางสาวจันทร์ฉาย ทะนุก้ำ ผู้วิจัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
ผู้วิจัย นางสาวนิตญา จุทาชื่น วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ
รายงานการวิจัย การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาธุรกิจที่พัก
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
ชื่อผู้ วิจัย นางสาวพัชราภรณ์ ใจบุญมา
ผู้วิจัย อาจารย์สมเกียรติ ขำสำราญ
นายวีรพล ยิ้มย่อง สังกัด วิทาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
โดย นายยิ่งเจริญ บุญยัง
Subtitle Goes Hre PBL Problem Based Student Centered Small Group.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
วุฒิการศึกษา/สถานศึกษา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา วิทยาลัยเทคโนโลยีไออาร์พีซี (IRPC INSTITUTE OF TECHNOLOGY) การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 เรื่องวิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่ ของนักศึกษาระดับปวช.1 ด้วยการเรียน แบบร่วมมือกันเรียนรู้โดยใช้เทคนิค STAD ผู้วิจัย : นางสาวกุลธารินท์ เกิดมณี สังกัด : การศึกษาเอกชน

ที่มาและความสำคัญของปัญหา คณิตศาสตร์เป็นวิชาที่ทำความเข้าใจยาก โดยเฉพาะเรื่องวิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่ ผู้เรียนจะเบื่อหน่าย ไม่อยากเรียนทำให้ผลการเรียนค่อนข้างต่ำ ผู้สอนจึงปรับปรุงการเรียนการสอนใหม่โดยมีการจัดให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ มีการเรียนเป็นกลุ่มย่อยเพื่อให้ผู้เรียนได้มีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอื่นๆ สามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ วิธีการสอนหนึ่งที่น่าสนใจซึ่งเน้นการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในรูปของกระบวนการกลุ่ม คือการเรียนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ เทคนิค STAD (Student Teams-Achievement Divisions) โดยมีการจัดกลุ่มผู้เรียนให้คละกันตามความสามารถทางการเรียน มีการติวและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันในกลุ่ม ให้กำลังใจกัน คนเรียนเก่งจะช่วยเหลือคนเรียนอ่อน ทำให้ผลการเรียนในวิชาคณิตศาสตร์ของผู้เรียนแต่ละคนดีขึ้น

เพื่อพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 เรื่องวิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่ ของนักศึกษาระดับปวช.1 ด้วยการเรียน แบบร่วมมือกันเรียนรู้ โดยใช้เทคนิค STAD

ขั้นตอนการดำเนินการ เป็นดังนี้ ขั้นตอนการดำเนินการ เป็นดังนี้ จัดปฐมนิเทศเพื่อทำความเข้าใจกับผู้เรียนเกี่ยวกับวิธีการเรียนการสอน แบบร่วมมือกันเรียนรู้ โดยใช้เทคนิค STAD บทบาทของผู้เรียนและ ผู้สอน จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัดผลและประเมินผล ทดสอบก่อนเรียนเรื่องแฟคเทอเรียล วิธีเรียงสับเปลี่ยนและเรื่องวิธีจัดหมู่ จำนวน 30 ข้อ แล้วบันทึกคะแนนที่ได้จากการทดสอบครั้งนี้เป็นคะแนนก่อนเรียน

ขั้นตอนการดำเนินการ ดำเนินการสอนที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นด้วยการเรียนแบบร่วมมือกันเรียนรู้โดย ใช้เทคนิค STAD โดยผู้วิจัยเป็นผู้สอนเองแล้วให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มคละ กันตามความสามารถทางการเรียนสูง ปานกลางและต่ำ เพื่อแลกเปลี่ยน เรียนรู้และทบทวนเนื้อหา ทดสอบหลังเรียนโดยใช้แบบทดสอบฉบับเดียวกับที่ใช้ทดสอบก่อนเรียน แต่มีการสลับข้อคำถามกัน แล้วบันทึกคะแนนที่ได้จากการทดสอบครั้งนี้ เป็นคะแนนหลังเรียน นำคะแนนจากแบบทดสอบก่อนและหลังเรียนแต่ละชุด ไปวิเคราะห์ข้อมูลต่อไป

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล คะแนนต่ำสุด คะแนนสูงสุด ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของนักศึกษาจำแนกตาม ระดับความสามารถทางการเรียน ในการทดสอบก่อนและหลังเรียนเรื่องวิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่ ประเภทของนักศึกษาแบ่งตามระดับความสามารถทางการเรียน จำนวน การทดสอบก่อนเรียน การทดสอบหลังเรียน คะแนนต่ำสุด คะแนนสูงสุด ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน กลุ่มเก่ง 5 17.00 24.50 19.50 3.38 25.50 28.00 26.80 1.04 กลุ่มปานกลาง 15 13.50 26.00 20.27 3.39 22.00 28.50 26.40 2.16 กลุ่มอ่อน 21.30 3.33 23.00 2.07

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยโดยรวมของคะแนนแบบทดสอบ วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่ของนักศึกษาก่อนและหลังเรียน แบบร่วมมือกันเรียนรู้ โดยใช้เทคนิค STAD ประเภท จำนวน ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน การทดสอบก่อนเรียน 25 20.32 3.38 การทดสอบหลังเรียน 26.48 1.91

สรุปผลการศึกษา จากผลการวิเคราะห์ข้อมูลคะแนนแบบทดสอบก่อนและ หลังเรียนเรื่องวิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่ของนักศึกษา โดยรวมคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียน มีผลทำให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 เรื่องวิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่ ของนักศึกษา มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สูงขึ้น

อภิปรายผลการศึกษา จากผลการวิจัย นักศึกษามีคะแนนแบบทดสอบเฉลี่ยก่อนและ หลังเรียน แตกต่างกันมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยมีค่าเฉลี่ย รวมของคะแนนหลังเรียนเพิ่มจาก 20.32 เป็น 26.48 พบว่า ผู้เรียนที่ได้รับการสอนโดยใช้เทคนิค STAD มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ทั้งนี้เป็นเพราะ การเรียนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ อาจมีปัจจัยสำคัญที่ส่งผลให้ผู้เรียน มีผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น