การพัฒนาระบบริการการบำบัดฟื้นฟู ผู้เสพยาเสพติดจังหวัดสิงห์บุรี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

นโยบายด้านยาเสพติด 7 แผน 4 ปรับ 3 หลัก 6 เร่ง.
แผนปฏิบัติการพลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติดอย่างยั่งยืน
แนวทางการดำเนินการ สร้างพลังสังคมและพลังชุมชน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
สกาวรัตน์ พวงลัดดา สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
แต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร และพัฒนาโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตำบล
บทบาท อสม. ในการดำเนินการ“รวมพลัง อสม
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
เป้าหมายและผลการดำเนินงานที่สำคัญ
องค์ประกอบ/กระบวนงานด้านการคุ้มครองเด็ก ในระดับจังหวัดสมุทรสาคร
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ยุทธศาสตร์ การป้องกันควบคุมไข้หวัดนก
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ปฏิบัติการวาระแห่งชาติ “ พลังแผ่นดิน เอาชนะยา เสพติด ” ปฏิบัติการวาระแห่งชาติ “ พลังแผ่นดิน เอาชนะยา เสพติด ”
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
โครงการรณรงค์ป้องกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติด
หัวข้อวิชา “งานศูนย์ปฏิบัติการสถานีตำรวจ”
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
เป้าหมายสำคัญของแผนยุทธศาสตร์ ปี 56 แผนงาน เป้าหมาย
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
แนวทางการบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับพื้นที่
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สรุปการประชุม เขต 10.
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการสร้างแรงจูงใจและมีส่วนร่วม
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
สถานการณ์เฝ้าระวังปัญหายาเสพติดจังหวัดลพบุรี
ระบบเฝ้าระวังปัญหายาเสพติดจังหวัดขอนแก่น
ระบบเฝ้าระวังปัญหายาเสพติดจังหวัดราชบุรี โดยฝ่ายอำนวยการ ศตส.จ.รบ.
กรอบการพิจารณา Ranking ปี 2557
โดย กลุ่มลูกพระนารายณ์ สถานการณ์ปัญหา ยาเสพติด จังหวัดลพบุรี
แผนยุทธศาสตร์ ไตรมาส ที่ 1 ไตรมาส ที่ 2 ไตรมาส ที่ 3 ไตรมาส ที่ 4 แผน 3 1. นักเรียนชั้น ป.6 จำนวน 30% ทั่ว ประเทศได้มีการ เสริมสร้างภูมิคุ้มกัน ด้านยาเสพติด.
สรุปสถานการณ์จังหวัดปัตตานี
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
สรุปผลการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อคุ้มครอง
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
เป้าหมายตามแผนยุทธศาสตร์พลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติด
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
นายวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
นายกรัฐมนตรี กรณีเกิดสาธารณภัยร้ายแรงอย่างยิ่ง (ความรุนแรงระดับ 4)
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
งานยาเสพติด.
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
โรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาระบบริการการบำบัดฟื้นฟู ผู้เสพยาเสพติดจังหวัดสิงห์บุรี อารีย์ บุญผ่อง นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสิงห์บุรี

ประกาศเจตนารมณ์การแก้ไขปัญหายาเสพติด เป็นวาระจังหวัดสิงห์บุรี ฯพณฯ จารุพงศ์ เรืองสุวรรณ รมว.มท. ประธาน “นายสุรพล แสวงศักดิ์ ผู้ว่าราชการจังหวัดสิงห์บุรี” วันที่ 4 ก.พ. 2556 เวลา 16.09 น. ณ อนุสาวรีย์วีรชนค่ายบางระจัน ประชาชนประมาณ 30,000 คน

สถานการณ์ปัญหายาเสพติด จ.สิงห์บุรี ระดับเบาบาง เป็นพื้นที่ลำเลียงผ่านยาเสพติด ไม่มีแหล่งผลิตในพื้นที่ ส่วนใหญ่เป็นผู้ค้ารายย่อย ตัวยาที่แพร่ระบาด คือ 1 ) ยาบ้า 2) ยาไอซ์ และกัญชา(เล็กน้อย) ยาไอซ์มีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น กลุ่มที่ควรเฝ้าระวัง คือ กลุ่มเด็ก เยาวชน ผู้ใช้แรงงาน และผู้ว่างงาน ที่มา : สนง.ปปส. และศูนย์อำนวยการพลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติด จ.สิงห์บุรี

แผนที่จังหวัดสิงห์บุรี N อ.สรรพยา จ.ชัยนาท อ.สรรพยา จ.ชัยนาท อ.สรรคบุรี จ.ชัยนาท อ.ท่าวุ้ง จ.ลพบุรี อ.เดิมบางนางบวช จ.สุพรรณบุรี อ.ไชโย จ.อ่างทอง อ.โพธิ์ทอง จ.อ่างทอง ปัญหาการแพร่ระบาด...จากพื้นที่รอยต่อจังหวัด

2. ยุทธศาสตร์พลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติด ศพส.จ.สิงห์บุรี ผวจ.สห. ควบคุมกำกับการดำเนินงานกับหัวหน้าส่วนราชการและนายอำเภอ ศพส.อ.ทุกอำเภอ คณะทำงานติดตาม ฯ การดำเนินงานตาม MOU สธ. ตำรวจ ศพส.จ./อ. พช./ปกครอง/ท้องถิ่น/ศธ./แรงงาน/พมจ./วฒ. Potential demand Demand Supply Management 4.การปราบปราม และบังคับใช้กฎหมาย 2.การแก้ไขปัญหา ผู้เสพ/ผู้ติด 7.การบริหาร จัดการ ฯ 1.การสร้างพลังสังคม และพลังชุมชน 3. การสร้างภูมิคุ้มกัน และป้องกัน เครือข่ายการค้า ควบคุมการแพร่ระบาด การข่าวและประสานงาน ยึดทรัพย์ กรอบกฎหมาย กลไกอำนวยการ ส่งเสริมภาคประชาชน บูรณาการแผนงาน /งบประมาณ ติดตามประเมิน การบำบัดฯ 3 ระบบ ศูนย์คัดกรอง ศูนย์ข้อมูล ติดตาม/ดูแล กองทุนแม่ของแผ่นดิน สร้างภูมิต้านทาน TO BE NUMBER ONE จัดระเบียบสังคม ควบคุมตัวยาและสารเคมี 8

3.

ผวจ.เน้นย้ำ สมัครใจ ศึกษาต่อ/ฝึกอาชีพ บังคับบำบัด ติดตามดูแล 4. กรอบการดำเนินงานด้านการบำบัดรักษา ผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด จ.สิงห์บุรี สมัครใจ ศึกษาต่อ/ฝึกอาชีพ บังคับบำบัด ติดตามดูแล ติดตามดูแล ค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 9 วัน บำบัดในรพ. (แบบผู้ป่วยนอก) 4 เดือน บำบัด/ฟื้นฟู รร.วิวัฒน์ พลเมือง ฯ 15 วัน เสพ ติด ส่งปัสสาวะตรวจยืนยัน ปฏิเสธ จำแนก ยอมรับ พบผลบวก ผวจ.เน้นย้ำ ทุกพื้นที่ Re x- Ray -ตรวจปัสสาวะ ชุมชน สถานศึกษา สถานประกอบการ

5. การบริหารจัดการอย่างบูรณาการ 1) ประชุม 1.คณะกรรมการ ศพส.จ โดย ผวจ. เป็นประธาน ประชุมทุกเดือน 2. คณะกรรมการ ศพส.อ.โดย นอภ.เป็นประธาน ประชุมทุกเดือน 3. คณะทำงานเพื่อติดตามผลการปฏิบัติการแก้ไขปัญหายาเสพติด รองผวจ.สห. (นายณรงค์ อ่อนสะอาด เป็นประธาน.) ประชุม เร่งรัดงาน ต่อเนื่อง 4. คณะทำงานเฝ้าระวังปัญหายาเสพติดในพื้นที่ (รองผวจ./ปลัดจว.เป็นประธาน ) ประชุมทุกเดือน 5.ชี้แจงอปท.เพื่อการติดตามดูแลช่วยเหลือผู้ผ่านการบำบัด (17 ม.ค.56 ร่วมกับการประชุมผู้บริหารท้องถิ่นและปลัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)

ในที่ประชุมศพส.จ.สิงห์บุรี - จำนวน 20 ข้อ - ครอบคลุม - ด้านการป้องกัน 2.) ข้อสั่งการของ ผวจ.สห. ในที่ประชุมศพส.จ.สิงห์บุรี - จำนวน 20 ข้อ - ครอบคลุม - ด้านการป้องกัน - ปราบปราม - บำบัด - การแก้ไขปัญหาพื้นที่รอยต่อของจว. 3) ข้อสั่งการของ คสช. ตามคำสั่งที่ 41/2557

4) คณะทำงานเพื่อติดตามผลการแก้ไขปัญหายาเสพติด ประธาน : นายณรงค์ อ่อนสอาด รองผู้ว่าราชการจังหวัดสิงห์บุรี คณะทำงาน: 12 ท่าน ศพส.จ.สห./ ปกครอง/ ตำรวจ/ สธ./ ศธ./ คุมประพฤติ /พช./เทศบาล

6. ระบบการบำบัดระบบสมัครใจ ระบบการส่งต่อ เครือข่ายบริการ 6. ระบบการบำบัดระบบสมัครใจ 2 รพท. 4 รพช. 47 รพ.สต. จิตแพทย์ 1 ท่าน พยาบาลป.โท/เฉพาะทาง 25 ท่าน ป.เอก 1 ท่าน / กำลังศึกษา 1 ท่าน

7. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน ด้านการติดตามภายหลังการบำบัด ไม่สามารถติดตามผู้ป่วยได้ครบถ้วน ข้อเสนอแนะ ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2556 วางแผนพัฒนาระบบติดตามในชุมชน ดังนี้ 1.ทุกอำเภอทำความเข้าใจกับผู้ป่วยและครอบครัวเกี่ยวกับการติดตามดูแล 2.การติดตามผลการบำบัดรักษา โดยหน่วยงานสาธารณสุข 3. การติดตามช่วยเหลือด้านครอบครัว /การศึกษา/การส่งเสริมอาชีพ โดย อำเภอส่งต่อให้ท้องถิ่น และศูนย์พัฒนาครอบครัวประจำตำบล 4. แบ่งฐานการติดตาม เป็น1. ชุมชน 2. สถานศึกษา 3. สถานประกอบการ

8. ความต้องการในการสนับสนุนเพิ่มเติม - สถานที่รับบำบัดผู้ป่วยสมัครใจ ที่มีอาการรุนแรง เช่น ส่งเข้าค่ายทหารได้ - อุปกรณ์/เครื่องมือตรวจยืนยันที่มีมาตรฐาน สำหรับ โรงพยาบาลทั่วไปที่ต้องรับตรวจยืนยันหายาบ้า ในปัสสาวะ - จัดเพิ่มสถานที่รับตรวจยืนยันหายาบ้าโดยเฉพาะ เพื่อลดปริมาณงานของโรงพยาบาล

9. ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา - การปรับฐานคิด ของผู้บริหาร ผู้ปฏิบัติ ประชาชนทุกภาคส่วน ว่าการติดยาเสพติดเป็นโรคเรื้อรังที่เกี่ยวข้องทุกมิติ ทั้ง ด้านบุคคล ตัวยา และสิ่งแวดล้อม ดังนั้นเป็นหน้าที่ของทุกท่าน ทุกครอบครัวต้องร่วมมือกันป้องกันแก้ไข

10.ปัจจัยความสำเร็จ ผู้นำ / ผู้บริหาร การบริหารจัดการ TEAM

ฝนให้ความชุ่มช่ำกับผืนดินอย่างไร คุณคือคนสำคัญ สวัสดี เมตตาจิต...ก็นำความสุขใจมาให้เราเช่นเดียวกัน