4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ 4. ด้านการสื่อสาร ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการสื่อสารสังคม และ มีกระบวนการสร้างกระแสสังคมเพื่อขับเคลื่อนนโยบายผ่านสื่อท้องถิ่น หอกระจายข่าว และเสียงตามสาย ฯ อย่างต่อเนื่อง 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดนโยบายสาธารณะด้านอาหารและโภชนาการในระดับองค์กร และท้องถิ่น เพื่อผลักดันสู่ระดับชาติ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ?? ภาพเปิดตัวโครงการฯ ภาคกลาง นนทบุรี เพชรบุรี สมุทรปราการ
สื่อสารโครงการ/แผนสื่อสาร Roadmap สื่อสารโครงการ/แผนสื่อสาร ผู้บริหารรับโครงการ (ผู้ว่าราชการจังหวัด) จัดอบรมกลุ่มเป้าหมายระดับพื้นที่ หลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 2 หลักสูตร หลักสูตรโรงเรียน 4 หลักสูตร แกนนำชุมชน 1 หลักสูตร หลักสูตรผู้บริหาร/อปท./สื่อมวลชน 1 หลักสูตร จัดตั้งทีมงานจังหวัด (สหวิชาชีพ) / ประชุมชี้แจง พัฒนาทีมวิชาการ เปิดตัวโครงการ พัฒนาทีมนักการตลาดเชิงสังคม จัดทำแผนยุทธศาสตร์/แผนงาน/โครงการ ระดับจังหวัด/พื้นที่ แต่ละพื้นที่ดำเนินงาน ตามยุทธศาสตร์ / โครงการ เวทีประชาคมระดับพื้นที จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ติดตาม ประเมินผล ปรับแผนและพัฒนางาน
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์เพื่อเด็กไทย มีโภชนาการสมวัย
ทีมวิทยากร ประกอบด้วย จากท้องถิ่นจังหวัด จากสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด สำนักงานการพัฒนาสังคมและความมั่นคงมนุษย์ มหาวิทยาลัยในพื้นที่ ศูนย์อนามัยที่ 1 3 4 ศูนย์ประสานงานโครงการพัฒนาระบบและ กลไกเพื่อเด็กไทยมีโภชนาการสมวัย ฯลฯ
ตัวอย่าง การจัดทำแผนปฏิบัติงาน โภชนาการสมวัย ภาคใต้ (สงขลา / ภูเก็ต)
นำความคาดหวัง / บทบาท หน้าที่ ของ อปท. มาแปลงเป็นแผนสู่การปฏิบัติ วิสัยทัศน์ : “เด็กไทยมีโภชนาการสมวัย และมีศักยภาพในการพัฒนาชาติ บ้านเมือง ให้เจริญก้าวหน้าในอนาคต” หรือ “เด็กในชุมชน / อบต. / เทศบาล..................มีโภชนาการสมวัยทั่วหน้า ในปี 2556 หรือ ...............................................
2. ด้านการพัฒนาบุคลากรและภาคีเครือข่าย (บทบาท) ความคาดหวังต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการพัฒนาระบบและกลไก เพื่อเด็กไทยมีโภชนาการสมวัย ในระยะ 3 ปี 1. ด้านโครงสร้าง 2. ด้านการพัฒนาบุคลากรและภาคีเครือข่าย 3. ด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนาพฤติกรรมโภชนาการ 4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
ตัวอย่างแผนโภชนาการสมวัย ภาคใต้ วิสัยทัศน์ : “เด็กในชุมชน / อบต. / เทศบาล..................มีโภชนาการสมวัยทั่วหน้า ในปี 2556 โดย อปท. มีการพัฒนางานอาหารและโภชนาการให้เกิดชุมชน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก บ้านรับเลี้ยงเด็ก และโรงเรียนที่พึงประสงค์ด้านโภชนาการ หรือ ...............................................
พันธกิจ เด็กไทยมีศักยภาพในการดูแลตนเองด้านอาหารและโภชนาการ เพื่อสุขภาวะที่ดีตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
จุดมุ่งหมายเพื่อการพัฒนา ส่งเสริมให้มีการกำหนดโครงสร้างด้านการบริหารจัดการ เพื่อเด็กไทยมีโภชนาการสมวัย ส่งเสริมและสนับสนุนทรัพยากรบุคคล เงิน ในการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายนำไปสู่การมีภาวะโภชนาการสมวัย สนับสนุนภาคีเครือข่ายในการพัฒนาศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก บ้านรับเลี้ยงเด็ก โรงเรียน และชุมชนที่พึงประสงค์ด้านโภชนาการ ขับเคลื่อนงานอาหารและโภชนาการอย่างมีประสิทธิภาพจนเกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน วางระบบและกลไกการบริหารจัดการ และการติดตามประเมินผลแบบมีส่วนร่วม
เป้าประสงค์ มีระบบและกลไกการบริหารจัดการที่ดีด้านอาหารและโภชนาการในระดับท้องถิ่น เกิดศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก บ้านรับเลี้ยงเด็ก โรงเรียน และชุมชนที่พึงประสงค์ด้านโภชนาการ เด็กทารก เด็กวัยก่อนเรียน และเด็กวัยเรียน อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีพฤติกรรมโภชนาการที่พึงประสงค์
ยุทธศาสตร์การพัฒนาและแนวทางการพัฒนา 1. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านโครงสร้างการบริหารการจัดการ เพื่อเด็กไทยมีโภชนาการสมวัย 1.1 สนับสนุนให้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการอาหารและโภชนาการในระดับชุมชน 1.2 จัดทำฐานข้อมูลด้านอาหารและโภชนาการ 1.3 จัดกระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการด้านอาหารและโภชนาการ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาและแนวทางการพัฒนา 2. ยุทธศาสตร์การพัฒนาบุคลากรและภาคีเครือข่าย 2.1 ส่งเสริมภาคีเครือข่ายเข้ามามีส่วนร่วม 2.2 พัฒนาศักยภาพบุคลากรในด้านอาหารและโภชนาการ 2.3 ส่งเสริมให้เกิดศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก บ้านรับเลี้ยง โรงเรียน และชุมชนพึงประสงค์ด้านโภชนาการ 2.4 สนับสนุนการพัฒนาทักษะด้านการส่งเสริมพฤติกรรมโภชนาการที่พึงประสงค์
ยุทธศาสตร์การพัฒนาและแนวทางการพัฒนา 3. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนาพฤติกรรมโภชนาการ 3.1 จัดปัจจัยแวดล้อมให้เอื้อต่อการพัฒนาพฤติกรรมโภชนาการที่พึงประสงค์ 3.2 จัดทำแผนการปรับปรุงสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการบริโภคอาหาร
ยุทธศาสตร์การพัฒนาและแนวทางการพัฒนา 4. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการสื่อสาร 4.1 ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการสื่อสารสังคม 4.2 สนับสนุนกระบวนการสร้างกระแสสังคมเพื่อการขับเคลื่อนนโยบายผ่านสื่อท้องถิ่น หอกระจายข่าว เสียงตามสาย วิทยุชุมชน 4.3 พัฒนาศักยภาพด้านการสื่อสารเพื่อการเรียนรู้ด้านอาหารและโภชนาการ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาและแนวทางการพัฒนา 5. ยุทธศาสตร์การพัฒนานโยบายสาธารณะ 5.1 พัฒนาโภชนาการเข้าสู่นโยบาย ภารกิจ และแผนงานของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก บ้านรับเลี้ยง โรงเรียน และชุมชน 5.2 บริหารจัดการให้เกิดต้นแบบที่ดีด้านโภชนบูรณาการกับภาคีเครือข่าย
ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับ รายละเอียดโครงการพัฒนา แผนพัฒนา 3 ปี (พ.ศ.2554-2556) 1. ยุทธศาสตร์ที่ .................................................................................................... 1.1 แนวทางการพัฒนา ............................................................................... ที่ โครงการ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย (ผลผลิตของโครงการ) งบประมาณและที่มา ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับ หน่วยงานที่ รับผิดชอบ 2554 (บาท) 2555 2556
ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับ แผนพัฒนา/ปฏิบัติการ ประจำปี พ.ศ. 2553 - 2554 ที่ โครงการ/กิจกรรม วัตถุประสงค์ เป้าหมาย (ผลผลิตของโครงการ) งบประมาณ และ ที่มา ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับ หน่วยงานที่ รับผิดชอบ
ตัวอย่างโครงการฯ ปี 2553 – 2554 โครงการพัฒนาชุมชน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก บ้านรับเลี้ยงเด็ก และโรงเรียน สู่องค์กรที่พึงประสงค์ด้านโภชนาการ โครงการส่งเสริมการปลูกผัก ผลไม้ หลากสี ปลอดสารพิษ โครงการชุมชน / โรงเรียน / ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ปลอดน้ำอัดลม / ขนมกรุบกรอบ โครงการส่งเสริมร้านค้าจำหน่ายอาหารได้มาตรฐานโภชนาการ (เมนูชูสุขภาพ / เกลือ น้ำปลาเสริมไอโอดีน ขนมกรุบกรอบมีตราสัญลักษณ์ลดน้ำตาล ไขมัน โซเดียม 25% ฯลฯ) 5. โครงการตำบลอ่อนหวาน 6. โครงการ Cook จิ๋ว ฯลฯ