Payroll.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การปรับเปลี่ยนการดำเนินการ ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล
Advertisements

การใช้งานระบบสินค้าคงคลัง
ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย เงินรายได้ของมหาวิทยาลัย พ. ศ
หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติการยืมเงินทดรองจ่ายเงินรายได้
สิทธิประโยชน์ เมื่อพ้นสมาชิกภาพ. สิทธิประโยชน์ เมื่อพ้นสมาชิกภาพ.
เมื่อไหร่... สมาชิกจะได้รับเงิน จาก กบข.. เมื่อไหร่... สมาชิกจะได้รับเงิน จาก กบข.
ขั้นตอนง่าย ๆ ในการเข้าใช้บริการ
การตรวจสอบการนำส่งเงินรายได้
งานพนักงานราชการและลูกจ้าง
การปฏิบัติงานในระบบ e-pension สำหรับส่วนราชการผู้ขอ
แนวทางแก้ไขปัญหา ให้กับสมาชิก กบข. โดยสมัครใจ.
ตารางเปรียบเทียบการจ้างงาน ค่าตอบแทน สวัสดิการต่างๆ ระหว่างลูกจ้างชั่วคราว (เงินบำรุง) กับพนักงานกระทรวงสาธารณสุข.
04/04/60 การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำงบประมาณจากเงินรายได้ของมหาวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา
การยืมเงินรองจ่าย งานคลังและพัสดุ คณะสหเวชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ที่มาของโครงการ เจ้าหนี้การค้าในประเทศมากกว่า 5 พันราย ซึ่งเดิมจ่ายชำระด้วย CHQ และเปลี่ยนเป็นการจ่ายชำระหนี้เงินโอน 1,970 ราย พบปัญหา เจ้าหนี้เงินโอนสอบถามรายการจ่ายชำระหนี้
งานทรัพยากรบุคคล การปรับเปลี่ยนการดำเนินการ ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล
ตามขั้นตอนการให้บริการสาธารณสุข สิทธิสวัสดิการพนักงานส่วนท้องถิ่น
สิทธิของข้าราชการทหาร
สาระสำคัญของการแก้ไข พรบ. กบข. ฉบับที่ 5
แนวทางการเตรียมตัวและเตรียมความพร้อมก่อน - หลังเกษียณอายุ
การเบิกจ่ายเงินช่วยพิเศษ
กองทุนประกันสังคมคือ...
งานที่เกี่ยวข้องกับระบบ GFMIS
การจ้างลูกจ้างชั่วคราว
กฎหมายเกี่ยวกับ การเงินการคลัง
การตรวจสอบ การตรวจสอบ คือ กระบวนการที่เป็นระบบ
ความสำคัญของการออม เพื่อเกษียณอายุ
กรมบัญชีกลาง The Comptroller General’s Department
The Comptroller General’s Department
กรมบัญชีกลาง The Comptroller General’s Department
The Comptroller General’s Department
ระบบจ่ายตรงเงินเดือนและค่าจ้างประจำ
8. การใช้เงินสะสม.
ค่าใช้จ่ายในการจ้างเอกชนดำเนินงาน
ระเบียบสำนักงานประกันสังคมว่าด้วย การเป็นผู้ประกันตนตามมาตรา 39 แห่งพระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 26 ตุลาคม.
เรื่อง พระราชบัญญัติกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (กบข.)
แนวทางการบริหารพนักงานกระทรวงสาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
การลงทะเบียนเบิกจ่ายตรง
โดย ส่วนวิชาการ สำนักงานคลังเขต 1 กรมบัญชีกลาง
กรมบัญชีกลาง The Comptroller General’s Department
เรื่อง ระบบบัญชีเกี่ยวกับเงินเดือนและค่าแรง
บทที่ 9 ระบบบัญชีเกี่ยวกับเงินเดือนและค่าแรง
หน่วยที่ 2 ต้นทุนสินค้าสำเร็จรูป
ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น(ฉบับที่ 1325/2552)

การบันทึกลดหย่อนภาษี(ล.ย.01) และต้นทุนกิจกรรมย่อย
ข้อเปรียบเทียบ สำหรับข้าราชการ การกลับไปใช้สิทธิในบำเหน็จบำนาญ
นางสาวชุติมา อักขราภรณ์ ตอนB19
ระบบประมวลผลเวลาทำงาน
ข้อเปรียบเทียบ การกลับไปใช้สิทธิในบำเหน็จบำนาญ
สำนักงบประมาณกรุงเทพมหานคร
ระบบการเรียกเก็บหนี้
พระราชบัญญัติการกลับไปใช้สิทธิ พระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญ

การจำแนกประเภทรายจ่าย
งบกองทุนหลักประกันสุขภาพ
นักวิชาการเงินและบัญชี ชำนาญการพิเศษ สพม. 34 เบอร์ติดต่อ
การประชุมชี้แจง การปฏิบัติงานเรื่องการกลับไปใช้สิทธิในบำเหน็จบำนาญตามพระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ.2494 พ.ศ.2557 ในวันพุธที่ 3 ธันวาคม 2557.
กลุ่มงานทะเบียนประวัติและเครื่องราชอิสริยาภรณ์
การดำเนินการ ของส่วนราชการผู้เบิกบำนาญ ในระบบ GFMIS
การจัดทำหนังสือ รับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย ปี 2557
แนวทางการเบิกจ่ายเงินอุดหนุน ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประจำปี 2555
กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง
ระบบการทำงานของ ระบบงบประมาณ (บริหาร)
สุทธิรัตน์ รัตนโชติ กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง
บำเหน็จบำนาญ และ UNDO สุริยงค์ ลูกจันทร์ สำนักงานคลังเขต 4.
ให้รวมถึงบุคคลดังต่อไปนี้ด้วย
ระบบเงินเดือนค่าตอบแทนและสวัสดิการ
 วัตถุประสงค์กำหนดรายละเอียดของโครงการแต่ละคณะ / หน่วยงาน  ผู้ใช้งาน ผู้จัดทำโครงการของแต่ละคณะ / หน่วยงาน รูปแสดงหน้าจอบันทึกข้อมูล โครงการ.
การปรับเปลี่ยนลูกจ้าง ชั่วคราวเข้าสู่การเป็น พนักงานกระทรวง สาธารณสุข
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Payroll

PAYROLL คือ ... ระบบ Payroll เป็นโปรแกรมการจัดการเกี่ยวกับธุรกรรมทางการเงินทุกประเภทของมหาวิทยาลัยขอนแก่น โดยระบบจะทำการจัดการข้อมูลของข้าราชการ ลูกจ้างชั่วคราว ลูกจ้างประจำตลอดจนข้าราชการที่เกษียณแล้ว ของทุกหน่วยงานในมหาวิทยาลัยขอนแก่นและในการเบิกจ่ายเงินแต่ละครั้งนั้นต้องทำการผ่านหลายระบบ

ระบบ Payroll

Process การทำงานของ Payroll Process การทำงานพอสังเขปของ การ run Payroll การเตรียมข้อมูลพนักงาน เช่น ใส่ข้อมูลการลา หรือ ใส่เงินค่า OT ใน Infotype 14,15,267,2010 การจำลอง Simulate run payroll เพื่อตรวจสอบข้อมูลว่าถูกต้องหรือไม่ หากข้อมูลยังไม่ถูกต้องก็ทำการแก้ไขข้อมูลพนักงานให้ ถูกต้อง Release Payroll คือ ทำการ Lock ข้อมูลพนักงาน เพื่อ run Payroll

Process การทำงานของ Payroll Run Payroll หลังจากนั้นตรวจสอบผลการ run ว่าถูกต้องหรือไม่ ถ้าข้อมูลพนักงานที่ run payroll ได้ไม่ถูกก็ต้อง Corrections เพื่อปลด lock ข้อมูลพนักงาน แล้วแก้ไขข้อมูลพนักงานให้ถูกต้อง แล้วจึง Release payroll และ run payroll ใหม่ 6. Exit payroll จบขั้นตอนการ run payroll

แฟ้มข้อมูลหลัก : ใช้ในการกำหนดรหัสของงานที่มีความเกี่ยวของกับการจ่ายเงิน รวมถึงการหักภาษีและเงินบำนาญ กำหนดรหัสรายรับ-รายจ่าย กำหนดความหมายรายรับ-รายจ่ายให้กับระบบ กำหนดประเภทบุคลากร กำหนดรหัสตำแหน่ง กำหนดสายงาน กำหนดกลุ่มข้าราชการ กำหนดระดับ กำหนดรหัสการเปลี่ยนแปลงเงินเดือน กำหนดประเภทงวดการจ่ายเงิน กำหนดรหัสสถานที่ทำงาน กำหนดเงื่อนไขการคำนวณรายรับ-รายจ่าย สะสมที่ใช้ในการคำนวณภาษี กำหนดเงื่อนไขรายงาน pay slip กำหนดเงื่อนไข ภงด.1, ภงด.1ก, ภงด.1ก พิเศษ และ 50ทวิ กำหนดเงื่อนไขการสร้างข้อมูลการสั่งจ่าย ปฏิทินงวดการจ่ายเงิน ตารางกระบอกเงินเดือนตารางภาษตารางลดหย่อนภาษี ตารางอัตราสะสม, สมทบและชดเชยของกองทุนต่างๆ ตารางกลุ่มการจ่ายเงิน

รายการประจำวัน : ใช้ในการทำงานเกี่ยวกับการเก็บข้อมูลประวัติบุคคลภายในมหาวิทยาลัยทั้งหมดและสามารถทำการแก้ไข เพิ่มเติมได้ ประวัติบุคคล ข้อมูลเงินเดือน, เงินประจำตำแหน่งและค่าจ้างประจำ อ่านข้อมูลบัญชีถือจ่ายจากแผ่นดิสกเก็ต คัดเลือกข้อมูลการเปลี่ยนแปลงเงินเดือน, เงินประจำตำแหน่งและค่าจ้างประจำ ข้อมูลเปลี่ยนแปลงประจำเดือน โอนข้อมูลไปปรับปรุงข้อมูลเงินเดือน, เงินประจำตำแหน่งและค่าจ้างประจำ บันทึกปรับปรุงข้อมูลสิทธิการเบิกเงินช่วยเหลือบุตร รับและปรับปรุงการเป็นสมาชิกกองทุน ข้อมูลที่ได้จากระบบอื่น อ่านข้อมูลรายรับ – รายจ่ายทางเงินเดือนจากแผ่นดิสก์เก็ต บันทึก – ปรับปรุง รายรับ – รายจ่ายทางเงินเดือน สร้างข้อมูลรายรับ – รายจ่ายประจำ บันทึก – ปรับปรุง ข้อมูลรายรับ – รายจ่ายประจำ

ประมวลผลประจำงวด : ใช้ในการคำนวณเงิน เก็บข้อมูล รายรับ รายจ่าย ทั้งหมด คำนวณเงินตกเบิก ข้อมูลเงินตกเบิก บันทึก – ปรับปรุง ข้อมูลผู้ได้รับเงินบำเหน็จ คำนวณภาษีเงินบำเหน็จ ข้อมูลภาษีเงินบำเหน็จ คำนวณเงินหักกรณีงดจ่ายระหว่างเดือน ข้อมูลเงินหักกรณีงดจ่ายระหว่างเดือน สรุปรายรับ – รายจ่าย และคำนวณเงินคงเหลือสุทธิ ข้อมูลรายรับ – รายจ่ายประจำเดือน ข้อมูลจ่ายของบุคลากรที่ไม่สามารถหักได้ ปิดข้อมูลประจำเดือน บันทึกปรับปรุงยอดรายรับ – รายจ่ายสะสม บันทึกข้อมูลลงแผ่นดิสก์เก็ต ย้ายข้อมูลประจำเดือน

ขออนุมัติเบิกเงินงบประมาณ :ใช้ในการขออนุมัติเบิกเงินงบประมาณจะทำการสร้างการขออนุมัติเรียบร้อยแล้วต่อไปจะส่งไปยังหน้าข้อมูลการขออนุมัติเงินเพื่อเบิกจ่ายเพื่อแสดงข้อมูลและทำรายงานการขออนุมัติ

ข้อมูลการสั่งจ่าย : ใช้ในการสร้างข้อมูลการสั่งจ่ายเงินขึ้นมาแล้วส่งไปยังหน้าข้อมูลการสั่งจ่ายเพื่อทำเป็นรายงานแสดงข้อมูล สร้างข้อมูลการสั่งจ่ายเงิน สร้างข้อมูลการสั่งจ่ายเงิน

ประมวลผลประจำปี เมื่อถึงสิ้นปีจะมีการลบข้อมูลบางส่วนทิ้งไปและ ทำการเตรียมข้อมูลให้พร้อมสำหรับการทำงานในปีต่อไป ซึ่งการประมวลผลประจำปีจะทำการจัดการกับข้อมูลทั้ง 2 ส่วนนั้นให้โดยอัตโนมัติ และสามารถเก็บข้อมูลที่ประมวลผลไว้สำรองได้

ประมวลผลประจำปี Benefit : สามารถสำรองข้อมูลประจำปีได้ สามารถเลือกได้ว่าต้องการลบข้อมูลพนักงานที่ลาออกและเกษียณอายุออกจาก ระบบหรือไม่ สามารถเลือกปีประมวลผลและปีภาษีใหม่ได้ สามารถปิดประมวลผลสิ้นปีของแต่ละปีภาษีได้ สามารถป้องการการประมวลผลสิ้นปีจาก user อื่นได้โดยการใส่ Password

รายงาน การเปลี่ยนแปลงประวัติบุคคล ข้อมูลที่ได้จากระบบอื่น รายการรับ – จ่ายทางเงินเดือน รายการรับจ่ายประจำ รายงานประจำงวด ข้อมูลสั่งจ่าย(วางฏีกาเงินรายได้และรายจ่ายสมทบ) รายงานประจำปี

ตัวอย่างรายงาน รายงาน ภ.ง.ด.1 ใบแนบ เป็นรายงานที่แสดงใบแนบ ภ.ง.ด.1 ที่ใช้สำหรับนำส่งสรรพากรในการนำส่งภาษีประจำแต่ละเดือนของปีภาษีนั้น โดยระบุเดือน และปีภาษีที่ต้องการนำส่ง สามารถเรียกข้อมูลให้แสดงตามช่วงหน่วยงานระดับที่ 1, หน่วยงานระดับที่ 2, ประเภทพนักงาน,กลุ่มพนักงาน, ตำแหน่งงานและชื่อพนักงานได้

ตัวอย่างรายงาน รายงานทะเบียนรายได้พนักงาน เป็นรายงานที่แสดงข้อมูลรายได้ - รายหักของพนักงานแต่ละคนได้รับในงวดการจ่ายนั้นๆ โดยรายได้แสดงจากเงินเดือน/ค่าจ้าง, ภาษีนายจ้างออกให้, รายได้อื่นๆ และรายการหักแสดงจากภาษี, ประกันสังคม, กองทุนสำรองฯ และรายหักอื่น รวมถึงแสดงรายได้สุทธิที่พนักงานได้รับด้วย