ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน The Universal Declaration of Human Rights
นางสาวกิติยา พ่วงจินดา รหัส 484110103 จัดทำโดย หมู่เรียน 48/110/1 นางสาวกิติยา พ่วงจินดา รหัส 484110103 นางสาวเจียมนภา ตนสาลี รหัส 484110105 นางสาวสาวิตรี ธรรมรัตน์ชัย รหัส 484110123 โปรแกรมวิชาสังคมศึกษา รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา สันติภาพศึกษา (sost 203)
เสนอ ดร.มนตรี วิวาห์สุข
สมัชชาประกาศว่า ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนนี้ เป็นมาตรฐานร่วมกันแห่งความสำเร็จสำหรับบรรดาประชาการและประชาติทั้งหลาย เพื่อจุดหมายปลายทางที่ว่า เอกชนทุกคนและองค์การสังคมทุกองค์การ โดยการรำลึกถึงปฏิญญานี้เป็นเนื่องนิจ จะบากบั่นพยายามด้วยการสอนและศึกษา ในอันที่ส่งเสริมการเคารพสิทธิและอิสรภาพเหล่านี้ และด้วยมาตรการอันก้าวหน้าทั้งในและระหว่างประเทศ ในอันที่จะส่งเสริมการเคารพสิทธิและอิสรภาพเหล่านี้ และด้วยมาตรการอันก้าวหน้าทั้งในและระหว่างประเทศ ในอันที่จะให้มีการยอมรับนับถือและการปฏิบัติตามโดยสากลและอย่างเป็นผลจริงจัง ทั้งในบรรดาประชาชนของรัฐสมาชิกด้วยกันเองและในบรรดาประชาชนของดินแดนที่อยู่ใต้อำนาจของรัฐนั้น ๆ
ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน มีสาระสำคัญโดยสรุปดังนี้ ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน มีสาระสำคัญโดยสรุปดังนี้ ข้อ 1 มนุษย์ทุกคนมีศักดิ์ศรี อิสรภาพ และเสมอภาคกัน ข้อ 2 สิทธิที่จะไม่ถูกเลือกปฏิบัติ เพราะเชื้อชาติ ผิว เพศ ภาษา ศาสนา และอื่นๆ ข้อ 31, 42, 53 สิทธิในชีวิต ร่างกาย และเสรีภาพ ข้อ 6 สิทธิ์ที่จะเป็นบุคคลตามกฎหมาย ข้อ 7 สิทธิ์ที่จะได้รับการคุ้มครองตามกฎหมายโดยเสมอภาคกัน ข้อ 8 สิทธิที่จะได้รับการเยียวยาทางศาลจากการถูกละเมิดสิทธิ ข้อ 9 ความเป็นอิสระจากการถูกจับกุม คุมขัง หรือเนรเทศโดยพลการ 1. เสรีภาพในการดำรงชีวิต 2. บุคคลใด ๆ จะถูกยึดเป็นทาสมิได้ในทุกรูปแบบ 3. บุคคลใดๆ จะถูกทรมานไม่ได้
ข้อ 13 สิทธิในการเดินทางย้ายที่อยู่และออกนอกประเทศ ข้อ 11 สิทธิในคดีอาญาที่จะได้รับการสันนิษฐานไว้ก่อนว่า เป็นผู้บริสุทธิ์จนกว่าจะพิสูจน์ได้ว่าเป็นผู้กระทำผิดจริง ข้อ 12 สิทธิที่จะไม่ถูกแทรกแซงในความเป็นส่วนตัว เช่น ครอบครัว เคหะสถาน เกียรติยศ ชื่อเสียง ข้อ 13 สิทธิในการเดินทางย้ายที่อยู่และออกนอกประเทศ ข้อ 14 สิทธิในการลี้ภัยในประเทศอื่น ข้อ 15 สิทธิในการถือสัญชาติ ข้อ 16 สิทธิเสรีภาพที่จะนับถือศาสนา ข้อ 17 สิทธิในการถือครองทรัพย์สินตนเอง ข้อ 184, 195, 206 เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น การแสดงออก การรับ หรือการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร 4. อิสรภาพแห่งความคิดมโนธรรมและศาสนา 5. อิสรภาพแห่งความเห็นและการแสดงออก 6. สิทธิในอิสรภาพแห่งการร่วมประชุมและการตั้งสมาคม
ข้อ 239, 2410 สิทธิในหน้าที่การงาน ค่าตอบแทน เวลาการทำงาน ข้อ 217, 228 สิทธิที่จะมีส่วนในรัฐบาลของประเทศตน และสิทธิในทางมั่นคงของสังคม ข้อ 239, 2410 สิทธิในหน้าที่การงาน ค่าตอบแทน เวลาการทำงาน ข้อ 2511, 2612 , 2713, 2814, 2915, สิทธิการมีความเสมอกันในกฎหมายและได้รับความคุ้มครองตามกฎหมาย ข้อ 30 ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนดังกำหนดไว้ ณ ที่นี้มิได้มุ่งต่อการทำลายสิทธิและอิสรภาพ 7. สิทธิที่เข้าถึงบริการสาธารณะและมูลฐานแห่งอำนาจของรัฐบาล 8. สิทธิในการบรรลุถึงซึ่งสิทธิทางเศรษฐกิจ ทางสังคม และทางวัฒนธรรม 9. สิทธิในการเลือกงานโดยอิสระและค่าจ้างในเงื่อนไขอันยุติธรรม 10. สิทธิในการพักผ่อนและเวลาว่าง 11. สิทธิในมาตรฐานการครองชีพ 12. สิทธิในศึกษา 13. สิทธิที่เข้าร่วมในชีวิตทางวัฒนธรรมของประชาชนโดยอิสระและคุ้มครองผลประโยชน์ทางศีลธรรมและทางวัตถุ 14. สิทธิในระเบียบทางสังคมและระหว่างประเทศ 15. สิทธิและอิสรภาพแห่งตนด้วยการพัฒนาต่อบุคลิกภาพ
สรุป ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษย์ชนนั้นเป็นสิทธิที่มนุษย์ทุกคนในสังคมมีสิทธิเท่าเทียมกัน และได้รับความคุ้มครองตามกฎหมาย ซึ่งผู้ใดล่วงละเมิดมิได้ หากล่วงละเมิดหรือไม่กระทำตาม ก็ต้องได้รับการลงโทษตามกฎหมาย ดังนั้น ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษย์ชนจึงเป็นสิ่งที่กำหนดขอบเขตความเป็นอิสระของมนุษย์ด้วยมาตรฐานเดียวกันที่จะใช้บังคับแก่บุคคลทุกคนในสังคม ซึ่งเป็นในรูปแบบของระเบียบกฎเกณฑ์ และข้อบังคับต่างๆ ที่จะช่วยกำหนดวิถีทางการปฏิบัติตนในชีวิตประจำวันของมนุษย์ตั้งแต่เกิดจนกระทั่งตาย
จบการนำเสนอค่ะ