สถานการณ์การดำเนินงาน ปี 2557 และทิศทางการดำเนินงาน ปี 2558 การควบคุมโรค โดย นางสาวสิริวรรณ จันทนจุลกะ ผู้อำนวยการกองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ วันที่ 28 สิงหาคม 2557 ณ โรงแรมลีการ์เด้น พลาซ่า หาดใหญ่ สงขลา
สถานการณ์ ภาวะฉุกเฉิน ภาวะฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุขที่พบมากขึ้น ปัญหาที่อาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพอันเนื่องมากจากมลพิษสิ่งแวดล้อม เพิ่มมากขึ้น ระบบตอบโต้ภาวะฉุกเฉินเดิม ยังไม่ครอบคลุมทุกประเด็น แรงงานต่างด้าว การเคลื่อนย้ายของประชากรต่างด้าวเพิ่มมากขึ้น (ปี2555มีมากกว่า 1.97 ล้าน) มีการเข้าเมืองไม่ถูกต้องตามกฎหมาย 64.57 % ก่อให้เกิดปัญหาสาธารณสุขและสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในแหล่งที่อยู่อาศัยของชุมชนต่างด้าว เสี่ยงต่อการเกิดโรคระบาด
กรอบแนวคิด: ตรวจจับเร็ว ตอบโต้ทัน ป้องกันได้ ระบบเฝ้าระวัง บูรณาการระบบเฝ้าระวังโรค 5 ระบบ 5 มิติ (5 ระบบ ได้แก่ โรคติดต่อ โรคไม่ติดต่อ โรคจากการบาดเจ็บ โรคเอดส์และโรคจากการ ประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม) พัฒนาเจ้าหน้าที่ทุกระดับ สามารถจัดการระบบเฝ้าระวังได้ สุขภาวะชายแดน พัฒนาสุขภาวะชายแดนตามกรอบกฎอนามัยระหว่างประเทศ ศักยภาพทีม SRRT SRRT สามารถดำเนินการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคได้ ครบวงจร ระบบการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน (78.30 ลบ.) มีระบบข้อมูล Real time พัฒนาศูนย์ปฏิบัติการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน (กรมอนามัย 6.0377 ลบ.) พัฒนาระบบสนับสนุนการปฏิบัติการ มาตรฐานกฎอนามัยระหว่างประเทศ ตรวจจับเร็ว ตอบโต้ทัน ควบคุมโรคและภัยในพื้นที่และกลุ่มเป้าหมายพิเศษ ระบบควบคุมโรคและภัย ประชากรต่างด้าว (4.2 ลบ.) พัฒนาระบบมูลประชากรต่างด้าว จัดให้ประชากรต่างด้าวเข้าถึงบริการป้องกันควบคุมโรคขั้นพื้นฐาน - จัดทำฐานข้อมูล (กรมอนามัย 1 ลบ.) - พัฒนามาตรฐาน (กรมอนามัย 1.3542 ลบ.) ช่องทางเข้าออก ระบบเฝ้าระวังช่องทางเข้าออก ระบบบริหารจัดการ สมรรถนะ
การตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน ความเสี่ยงด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ต่าง ๆ ปี 2552 - 2556 ฉ ปทุมธานี กทม. ฉะเชิงเทรา ชลบุรี จำนวนครั้งที่เกิดความเสี่ยง 31 – 40 ครั้ง 21 – 30 ครั้ง 11 – 20 ครั้ง 1 – 10 ครั้ง ไม่เกิดความเสี่ยง สมุทรปราการ จังหวัดระยอง เป็นพื้นที่ที่มีความเสี่ยงมากที่สุด 35 ครั้ง โดยเกิดเหตุการณ์ ลักลอบทิ้งกากของเสีย 7 ครั้ง การรั่วไหลของสารเคมี 13 ครั้ง โรงงานระเบิด/ไฟไหม้ 10 ครั้ง เหตุร้องเรียน 5 ครั้ง ระยอง แหล่งข้อมูล: กรมควบคุมมลพิษ
สถานการณ์การดำเนินงานปี 2557 (ร่าง)คณะอำนวยการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินฯ คณะทำงานการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินฯ จัดตั้งคณะทำงาน (ระดับกรม) จัดทำแนวทางการตอบโต้ความเสี่ยง (General Guideline) จัดทำแนวทางตอบโต้ความเสี่ยงเฉพาะกรณี 3 เรื่อง ได้แก่ - กรณีไฟไหม้บ่อขยะชุมชน - น้ำมันดิบรั่วไหล - การปนเปื้อนสารปรอทในแหล่งน้ำ การพัฒนาแนวทางการปฏิบัติงาน (SOP) ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค จัดทำทำเนียบผู้รับผิดชอบและเครือข่ายการดำเนินงาน ข้อมูลผลกระทบต่อสุขภาพ ได้แก่ แร่ใยหิน/ แอมโมเนียรั่วไหล / รังสี คาร์บอนมอนอกไซด์ /มลพิษอากาศและสารมลพิษอื่น ๆ กรณีไฟไหม้บ่อขยะชุมชน /ผลกระทบจากการจุดพลุและดอกไม้ไฟ ฯลฯ แผนที่ความเสี่ยง(ที่ตั้งแสดงกระบวนการผลิตและสิ่งคุกคามของกิจการโรงงานอุตสาหกรรม โรงไฟฟ้า ฯลฯ) การพัฒนาชุดข้อมูลความเสี่ยงต่อสุขภาพจากภาวะฉุกเฉิน การตอบโต้ภาวะฉุกเฉินเหตุการณ์รุนแรง กรณีไฟไหม้บ่อขยะ ต.แพรกษา อ.เมือง จ.สมุทรปราการ และ ต.บ้านป้อม อ.เมือง จ. อยุธยา ร่วมประชุม Warroom / วางแผนการดำเนินงาน จัดทำแผนที่เสี่ยง Zoning (Hot/Warm/Cold Zone) เฝ้าระวังฯ ร่วมกับ สสจ. โดย ตรวจวัดคุณภาพอากาศ (PM10 , PM2.5 , CO และ S02) และเก็บตัวอย่างน้ำ สนับสนุนคำแนะนำทางวิชาการ ติดตาม เฝ้าระวังระยะยาว การตอบโต้ภาวะฉุกเฉินเหตุการณ์ไม่รุนแรง สนับสนุนชุดข้อมูลวิชาการ 1. กรณีสารเคมีรั่วไหลจากโรงงานบริเวณใกล้นิคมฯ มาบตาพุด จ.ระยอง 2. กรณีเหตุระเบิดของ บ.ไออาร์พีซี จำกัด (มหาชน) จ.ระยอง 3. กรณีเหตุร้องเรียนการเผาถ่านกะลามะพร้าว อ.ปากท่อ จ.ราชบุรี 4. กรณีน้ำมันดิบรั่วไหลที่อ่าวพร้าว จ.ระยอง/น้ำมันรั่วไหลที่ จ.ชลบุรี 5. กรณีลักลอบทิ้งสารเคมี อลูมิเนียมฟอสไฟด์ อ.กบินทร์บุรี จ.ปราจีนบุรี 6. กรณีผลกระทบต่อสุขภาพจากเชื้อแบคทีเรียในปลา 7. กรณีเหตุการณ์ถังถังออกซิเจนระเบิดกลางเมือง จ.ฉะเชิงเทรา 8. กรณีเหตุการณ์ไฟไหม้โกดังสินค้า Bisco นิคมฯ บางปู จ.สมุทรปราการ
แผนงานการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน 1 พัฒนากลไก โครงสร้าง ระบบ 2 สนับสนุนการดำเนินงานในพื้นที่ 3 บูรณาการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทุกระดับ 4 จัดทำคู่มือ แนวทางการปฏิบัติงาน ชุดความรู้วิชาการ 5 ติดตาม ประเมินผล
ประชาชนได้รับการคุ้มครองสุขภาพจากเหตุฉุกเฉินจากสิ่งแวดล้อม พื้นที่มีความพร้อมในการตอบโต้เหตุฉุกเฉินจากสิ่งแวดล้อม บูรณาการ บูรณาการ มีหน่วยตอบโต้ฯ (SERT) ระดับประเทศ มีงานอวล. ในหน่วยตอบโต้ฯ ระดับเขต มีงานอวล. ในหน่วยตอบโต้ฯ ระดับจังหวัด ตัวชี้วัด ประสาน ประสาน เจ้าหน้าที่ทุกระดับมีศักยภาพตามมาตรฐานที่กำหนด (โดยบูรณาการร่วมกับ กสธ.) การจัดการ สิ่งสนับสนุน การจัดการ สิ่งสนับสนุน การจัดการ สิ่งสนับสนุน พัฒนาโครงสร้าง ระบบและกลไกการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม การจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน (ความรุนแรงระดับ4) สนับสนุนการจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน(ระดับ 1-3) ติดตาม ประเมินผล พัฒนาหลักสูตร/คู่มือ/ แนวทาง ปฏิบัติงานฯ พัฒนาศักยภาพจนท.ส่วนกลางและศูนย์ฯ พัฒนาระบบสื่อสาร เตือนภัย พัฒนางานวิชาการ/ นวัตกรรม พัฒนาฐานข้อมูลความเสี่ยง/แผนที่เสี่ยงฯ ระดับประเทศ พัฒนากลไก โครงสร้างศูนย์บริหารจัดการ การจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน (ระดับ 2-3) ประสาน สนับสนุนการปฏิบัติงานในพื้นที่กับจังหวัด เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ พัฒนากลไกการแจ้งเหตุ และประสานกับส่วนกลางและจังหวัด พัฒนาระบบสื่อสาร เตือนภัย พัฒนาศักยภาพ จนท. จังหวัด พัฒนาฐานข้อมูลความเสี่ยง แผนที่เสี่ยงในระดับเขต เตรียมความพร้อมรองรับการเกิดเหตุ แจ้งเหตุ รายงาน และประสานข้อมูลกับเขต ส่วนกลางและหน่วยงานในพื้นที่ จัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน (ระดับ 1) ประสานงาน บูรณาการการทำงานในพื้นที่ (เมื่อเกิดเหตุ) สร้างเครือข่ายฯระดับจังหวัด ร่วมจัดทำแผนปฏิบัติการฯ+ซ้อมแผนร่วมกับหน่วยงานในพื้นที่ สื่อสาร เตือนภัย พัฒนาฐานข้อมูลความเสี่ยง/แผนที่เสี่ยงในระดับจังหวัด กิจกรรม ส่วนกลาง เขตบริการสุขภาพ จังหวัด
การควบคุมโรคและภัยสุขภาพในพื้นที่ และกลุ่มเป้าหมายพิเศษ ประชากรต่างด้าวกับปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่เป้าหมาย 14 จังหวัด จำนวนประชากรต่างด้าวตั้งแต่ปี 2555- 2557 แรงงานข้ามชาติกับปัญหาสาธารณสุข ปัญหาโรคติดต่อ และ โรคติดต่ออุบัติใหม่ การไหลทะลักของสินค้าทำลายสุขภาพ ปัญหาด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและพฤติกรรม ปัญหาการเข้าถึงบริการสาธารณสุข อัตราการ ครองเตียง ในโรงพยาบาลเพิ่มขึ้น อนามัยแม่และเด็ก คน ปี (ก.ค.) แหล่งข้อมูล : สำนักบริหารแรงงานต่างด้าว กรมจัดหางาน อัตราป่วยด้วยโรคอุจจาระร่วงในพื้นที่เป้าหมาย14 จังหวัด (กรกฎาคม 2557) จังหวัด (เขตบริการสุขภาพ) อัตราป่วย (ต่อประชากรแสนคน) ตาก (2) 2028.37 เชียงราย (1) 1883.94 ระยอง (6) 1855.94 ตราด (6) 1527.84 สมุทรสาคร (5) 1497.90 พังงา (11) 1379.59 อุบลราชธานี (10) 1347.15 จังหวัด (เขตบริการสุขภาพ) อัตราป่วย (ต่อประชากรแสนคน) ระนอง (11) 1341.86 มุกดาหาร (10) 1197.37 สุราษฎร์ธานี (11) 1078.19 สระแก้ว (6) 985.89 สงขลา (12) 855.88 สมุทรปราการ (6) 822.37 ปทุมธานี (4) 757.94 แหล่งข้อมูล : สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค
แผนงานการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน การควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ในพื้นที่และกลุ่มเป้าหมายพิเศษ แผนงานการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน 1 พัฒนาขีดความสามารถ อสม.ต/อสต. 2 สนับสนุนการจัดการและพัฒนาฐานข้อมูลด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม และสุขภาพ 3 พัฒนามาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมสำหรับชุมชนแรงงานต่างด้าว
ประชากรต่างด้าวเข้าถึงบริการป้องกันควบคุมโรคพื้นฐาน ร้อยละ 30 ของชุมชนแรงงานต่างด้าวมีการจัดการด้านสุขาภิบาลฯ มาตรฐานวิชาการด้านสุขาภิบาลฯ คำแนะนำคณะกรรมการสาธารณสุข - ฐานข้อมูลด้านสุขาภิบาลฯแรงงานต่างด้าว ร้อยละ 50 ของเจ้าหน้าที่ สสจ. สสอ. รพ.สต. และ อสม.ต. ได้รับการอบรมด้านสุขาภิบาลฯ สถานการณ์และฐานข้อมูลสุขาภิบาลฯแรงงานต่างด้าวในเขตบริการสุขภาพ - สถานการณ์และฐานข้อมูลสุขาภิบาลฯแรงงานต่างด้าวระดับจังหวัด ประสาน ประสาน ตัวชี้วัด มีการจัดการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในชุมชนแรงงานต่างด้าว การจัดการ สิ่งสนับสนุน การจัดการ สิ่งสนับสนุน การจัดการ สิ่งสนับสนุน ศึกษารูปแบบความร่วมมือด้านสุขาภิบาลฯในชุมชนแรงงานต่างด้าว ติดตามและประเมินผล ยกร่างประกาศคำแนะนำคณะกรรมการ จัดทำ SOP ด้านการสุขาภิบาล จัดทำต้นแบบสื่อ เอกสารวิชาการ สำรวจสถานการณ์ปัญหาด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมของชุมชนแรงงานต่างด้าว จัดทำฐานข้อมูลฯ ผลักดันให้ อปท.ออกข้อกำหนดท้องถิ่นเรื่องอนามัยสิ่งแวดล้อมสำหรับแรงงานต่างด้าว ส่งเสริมให้พื้นที่มีการดำเนินงานตาม SOP การพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ สสจ. สสอ. รพ.สต. และอสม.ต จัดทำสถานการณ์และฐานข้อมูลด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม ปรับปรุงด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในชุมชนแรงงานต่างด้าว ผลักดันให้ อปท.ออกข้อกำหนดท้องถิ่นเรื่องอนามัยสิ่งแวดล้อมสำหรับแรงงานต่างด้าว จัดทำและซ้อมแผนการดำเนินงานด้านแรงงานต่างด้าว จัดอบรม อสม.ต และอสต. ส่งเสริม/สนับสนุนให้พื้นที่มีการดำเนินงานตาม SOP จัดทำสถานการณ์และฐานข้อมูลด้านสุขาภิบาลฯ กิจกรรม ส่วนกลาง เขตบริการสุขภาพ จังหวัด