ทิศทางการผลิตกำลังคนทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีที่ยั่งยืน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โรงเรียนพัฒนาสู่มาตรฐานสากล สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
Advertisements

ความต้องการกำลังคนสาขาระบบสมองกลฝังตัว
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
เปรียบเทียบครุศาสตร์อุตสาหกรรมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ  
แนวทางการดำเนินงาน ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา
Profi le Prod uct Depl oy Outp ut VISION MISSION - สร้างความรู้ - วิจัย - บริการ - สร้างบัณฑิต นโยบาย - บริหาร 13 ข้อ - การเรียนการ สอน 3 ข้อ - พัฒนานักศึกษา.
โครงการนิเทศเต็มพิกัดโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน สู่การยกระดับคุณภาพการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามุกดาหาร โดย ปรีชา พาลุกา ศึกษานิเทศก์
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
๑. เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
04/04/60 การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำงบประมาณจากเงินรายได้ของมหาวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2552 ภาควิชาพัฒนาการเกษตร คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2553
สำเร็จการศึกษาในเวลา 4 ปี
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหาร มจธ.
สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
แผนปฏิบัติราชการของมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
ความร่วมมือในการพัฒนาทุนมนุษย์ ในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
ตามโครงการ ยกระดับคุณภาพครูทั้งระบบ
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
วิกฤตและโอกาสงานวิจัยข้าวไทย รศ. ดร
ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. จังหวัดลพบุรี วิทยฐานะ เชี่ยวชาญ
2. กระทรวงศึกษาธิการกับการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ภาควิชาวาริชศาสตร์ คณะ ทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลาน ครินทร์ 23 มิถุนายน 2552.
ประชุมพิจารณา ร่างแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2556
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
สมรรถนะการศึกษาไทยในเวทีสากล พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนากำลังแรงงาน
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
ฝ สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน / ผู้ประกอบการ
ณ วิทยาเขตศรีราชา จ.ชลบุรี
1 ปี มก. กำหนดให้เป็นปีแห่ง การพัฒนาคุณภาพและ จัดการวิชาการ ปี มก. กำหนดให้เป็นปีแห่ง การพัฒนาคุณภาพและ จัดการวิชาการ ศาสตราจารย์ ดร.
1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
โดย สมภพ อมาตยกุล 21 กันยายน 2548
การสนับสนุน ทุนอุดหนุนวิจัยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา
กลุ่มที่ 5 : บุคคลที่มีการเรียนรู้ผิดปกติ
เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
AEC WATCH จับตาเปิดเสรีภาคบริการ สาขาการศึกษา
11.พัฒนาครูด้วยระบบ e-Training 10.พัฒนาระบบนิเทศแนวใหม่
รองเลขาธิการคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ
1 การปาฐกถาพิเศษ เรื่อง “ วิทยาลัยชุมชน : ทางเลือกอุดมศึกษาเพื่อ ปวงชน ”
การเลื่อนตำแหน่งสายสนับสนุน
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ วันที่ มิถุนายน คะแนน ระดับดีมาก.
การสัมมนาการประกันคุณภาพการศึกษา เรื่อง “การพัฒนาคุณภาพนักศึกษาด้านวิชาการ” วันที่ 12 กันยายน 2552 ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ความเป็นมา จัดตั้งตามคำสั่งกรมส่งเสริม การเกษตรที่ 384/2548 ตั้งสำนักงานเลขานุการ คณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจ ชุมชน และเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน เพื่อ รองรับภารกิจตามพระราชบัญญัติ
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
"เป็นหน่วยงานหลักในการประสาน และผลักดันยุทธศาสตร์กระทรวง
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
กลุ่มที่ 3 หัวหน้าฝ่าย / เจ้าหน้าที่
การยกระดับคุณภาพการศึกษา สู่การปฏิบัติ
พัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การ วิจัย และนวัตกรรม พัฒนาการเรียนรู้ด้าน วิทยาศาสตร์ตั้งแต่วัยเด็ก ต่อเนื่องทุกระดับการศึกษา เพื่อสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ให้
ดร.อ่องจิต เมธยะประภาส รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
วิสัยทัศน์ เป็นเลิศด้าน วิชาการ รับใช้ สังคม 50 ของเอเชีย เป้าหมาย ร่วมพัฒนาพื้นที่และประเทศอย่างยั่งยืน จัดการศึกษา มีคุณภาพ ยุทธศาสตร์ พัฒนางานวิจัย.
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
5.1 การส่งเสริมการนำ งานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีมาใช้ใน การพัฒนาประเทศ (3, ล้าน บาท ) พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ที่จำเป็น โดยเร่งจัดตั้งอุทยาน.
สำนักงานสหกรณ์ จังหวัดสมุทรสงคราม สหกรณ์ก้าวไกล ด้วยน้ำ พระทัยในหลวง.
ขับเคลื่อนนโยบาย ประการ
การนำเสนอ หัวข้อ “ตอบโจทย์อุตสาหกรรมด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม มุ่งสู่ตลาดโลก” วันศุกร์ที่ 22 กุมภาพันธ์ 2556 ณ ห้องแกรนด์บอลรูม โรงแรมรามาการ์เด้นส์
การวิเคราะห์วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในช่วงปี พ.ศ Analysis of Master’s Thesis in Social Studies.
การประเมินหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพพุทธศักราช 2545 (ปรับปรุง พ. ศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทิศทางการผลิตกำลังคนทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีที่ยั่งยืน การเสวนา ทิศทางการผลิตกำลังคนทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีที่ยั่งยืน โดย ดร. สุจินดา โชติพานิช รองปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 11 พฤศจิกายน 2549

กรอบการนำเสนอ 1. สถานภาพการผลิตกำลังคนทาง ว. และ ท. 1. สถานภาพการผลิตกำลังคนทาง ว. และ ท. 2. แรงผลักดัน / แนวโน้มของสังคมในอนาคต 3. ภาพอนาคตการผลิต / พัฒนากำลังคน ว. และ ท. 4. แนวทางการผลิต / พัฒนากำลังคนทาง ว. และ ท. อย่างยั่งยืน

1. สถานภาพการผลิตกำลังคนทาง ว. และ ท. 1. สถานภาพการผลิตกำลังคนทาง ว. และ ท. ยังมีปัญหาทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ ปริมาณ ยังไม่เพียงพอ คุณภาพ - ขาดคนระดับสูง ที่จะเป็นนักวิจัย - ขาดคนที่มีความรู้และทักษะตรงกับ ความต้องการของภาคการผลิตและบริการ - ขาดครู / อาจารย์ / บุคลากรผู้สอน - ขาดนักเทคโนโลยี

1.1 โครงสร้างและความสามารถในการผลิตกำลังคน ทาง ว. และ ท. โดยรวม 1.1 โครงสร้างและความสามารถในการผลิตกำลังคน ทาง ว. และ ท. โดยรวม  สายสังคมศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์ มากกว่า สาย ว. และ ท. นักเรียน / นักศึกษาใหม่ (เบื้องต้น) ในปี 2548 มัธยมต้น ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก สายวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี สายสังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ 100 200 300 400 (1,000 คน) มัธยมปลาย 789,280 179,769 (53%)* หมายเหตุ * สัดส่วนปี 2546 ที่มา : สพฐ. และ สกอ. 159,417 (47%)* ปวช . 76,884 (41%) 112,563 (59%) 295,913 (72%) 11,314 (24%) 113,371 (28%) 35,895 (76%) 899 (46%) 1,056 (54%) สาย ว. และ ท. ประกอบด้วย สาขาวิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ เกษตรศาสตร์ และแพทยศาสตร์และ วิชาที่เกี่ยวกับสุขภาพ

ข้อมูลผู้สำเร็จการศึกษาระดับตรี / โท / เอก ของสถาบันอุดมศึกษาปี 2545  ความสามารถในการผลิตบัณฑิตด้าน ว. และ ท. มีค่อนข้างจำกัด โดยเฉพาะอย่างยิ่งกำลังคนระดับสูง ( โท , เอก ) ข้อมูลผู้สำเร็จการศึกษาระดับตรี / โท / เอก ของสถาบันอุดมศึกษาปี 2545

1.2 สถานภาพกำลังคนทาง ว. และ ท. ในตลาดแรงงาน 1.2 สถานภาพกำลังคนทาง ว. และ ท. ในตลาดแรงงาน ข้อมูลกำลังคนทาง ว. และ ท. ในตลาดแรงงานปี 2547 ๏ ผู้สำเร็จการศึกษาทาง ว.& ท. ทั้งหมด 2,200,000 คน ๏ ผู้มีงานทำที่สำเร็จการศึกษาด้าน ว. และ ท. 2,170,000 คน (99%) ๏ ผู้ที่ทำงานด้าน ว. และ ท. 700,500 คน (32%) ๏ ผู้ที่ประกอบอาชีพด้านการวิจัยและ พัฒนาทาง ว. และ ท. (นับแบบรายหัว)* 67,800 คน (3%) * ในปี 2546 มีบุคลากรด้านการวิจัยและพัฒนา (นับแบบเทียบเป็นการทำงานเต็มเวลา) 42,000 คน ที่มา : สำนักงานสถิติแห่งชาติ

1.3 ความต้องการแรงงานในภาคอุตสาหกรรมการผลิต 1.3 ความต้องการแรงงานในภาคอุตสาหกรรมการผลิต  สศช. ร่วมกับมูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI) คาดการณ์ว่า ในช่วงปี 2547-2552 ภาคอุตสาหกรรมการผลิต ต้องการประมาณ ปีละ 3.5 – 4 ล้านคน สำหรับอุตสาหกรรมหลัก 12 สาขา (2552) อุปสงค์ / อุปทาน มีดังนี้ . ความต้องการแรงงานด้าน ว. และ ท. มี 230,000 คน . จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาด้าน ว. และ ท. มีเพียง 140,000 คน . ขาดแคลนระดับ ปวช. มากที่สุด รองลงมาคือ ระดับ ปวส. และ ปริญญาตรีขึ้นไป

1.4 หลักสูตรใหม่ด้าน ว. และ ท. 1.4 หลักสูตรใหม่ด้าน ว. และ ท.  การปรับหลักสูตรให้ทันสมัย ช่วยให้บัณฑิตมีความรู้ตรงตาม ความต้องการของภาคการผลิตที่เปลี่ยนไป  ช่วงปี 2545 - 2547 มีจำนวนหลักสูตรใหม่ ลดลงอย่างต่อเนื่อง (หลักสูตรที่ใช้อยู่อาจดีอยู่แล้ว?)

1.5 บุคลากรผู้สอน ด้าน ว. และ ท. 1.5 บุคลากรผู้สอน ด้าน ว. และ ท.  ระดับอุดมศึกษา ปี 2545 มีอาจารย์ จบปริญญาเอก เพียงร้อยละ 42  ระดับมัธยมปลาย ปี 2546 มีจำนวนอาจารย์ด้านวิทย์-คณิต ประมาณ 39,501 คน โดยจบการศึกษาทางด้านวิทย์โดยตรง ประมาณ 18,846 คน

แรงผลักดัน/แนวโน้มของสังคมในอนาคต (ต่อ) 2.1 กระแสโลกาภิวัฒน์ / การเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก • เทคโนโลยีเปลี่ยนแปลงเร็ว • ใช้เทคโนโลยีเข้มข้น 2.2 การพัฒนาสู่สังคมเศรษฐกิจฐานความรู้ • สังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ • สังคมที่มีคุณภาพและแข่งขันได้ • สังคมที่ยั่งยืนและพอเพียง มีความสมานฉันท์ เอื้ออาทรต่อกัน

2. แรงผลักดัน/แนวโน้มของสังคมในอนาคต 2. แรงผลักดัน/แนวโน้มของสังคมในอนาคต 2.3 การสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศ • อันดับความสามารถในการแข่งขันปี 2549 โดย IMD จาก 61 ประเทศ - ด้านโครงสร้างพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ เพิ่มขึ้นจากอันดับที่ 56 เป็น 53 - ด้านโครงสร้างพื้นฐานทางเทคโนโลยี ลดจากอันดับที่ 45 เป็น 48 • ไทยขาดแคลนกำลังคนด้าน ว. และ ท. โดยเฉพาะ ในระดับสูง

บุคลากรด้าน R&D (คน-ปี) จำนวนบุคลากรด้านวิจัยและพัฒนาของแต่ละประเทศในปี 2545 ระดับการพัฒนาเศรษฐกิจ / ประเทศ บุคลากรด้าน R&D (คน-ปี) เทียบต่อประชากร 10,000 คน ประเทศพัฒนาแล้ว - ฟินแลนด์ - สวีเดน (2544) - ญี่ปุ่น 105.8 81.1 67.3 ประเทศอุตสาหกรรมใหม่ - สิงคโปร์ - ไต้หวัน - เกาหลี 52.5 51.0 36.2 ประเทศกำลังพัฒนา - สาธารณรัฐประชาชนจีน - ไทย * (2546) - มาเลเซีย 8.1 6.7 (หรือ 42,379 คน) 4.4 ที่มา : OECD, Main Science and Technology Indicators, พฤษภาคม 2547 * สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ

3. ภาพอนาคตการผลิต/พัฒนากำลังคน ว. และ ท. 3. ภาพอนาคตการผลิต/พัฒนากำลังคน ว. และ ท. 3.1 แผนกลยุทธ์ ด้าน ว. และ ท. แห่งชาติ (พ.ศ. 2547-2556)

เป้าหมาย 3.2 (ร่าง) แผนที่นำทางการพัฒนากำลังคนด้าน ว. และ ท. 3.2 (ร่าง) แผนที่นำทางการพัฒนากำลังคนด้าน ว. และ ท. (พ.ศ. 2549-2556) เป้าหมาย 1) มีบุคลากรวิจัยและพัฒนาไม่ต่ำกว่า 10 คน ต่อประชากร 10,000 คน (คิดเป็นจำนวน 65,000 คน) กำลังคน ว. และ ท. มีคุณภาพสูงตรงตาม ความต้องการของตลาด ไทยเป็นศูนย์กลางการศึกษาด้าน ว. และ ท. ในสาขาที่มีศักยภาพ ในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้

อาจารย์ที่สอนด้าน ว. และ ท. ในมหาวิทยาลัย ของรัฐ จำนวน 24 แห่ง จบการศึกษาปริญญาเอก ไม่น้อยกว่า 75% และในมหาวิทยาลัยราชภัฏ และราชมงคล ไม่น้อยกว่า 30% มีครู / อาจารย์ / บุคลากรผู้สอนด้าน ว. และ ท. ที่มีคุณภาพและเพียงพอกับการสอนด้าน ว. และ ท.

แนวทางการผลิต/พัฒนากำลังคนทาง ว. และ ท. อย่างยั่งยืน  เน้นคุณภาพ  ให้ความสำคัญกับการผลิต / พัฒนาในทุกระดับ และ บุคลากรผู้สอน ( ประถมศึกษา - มัธยมศึกษา - อาชีวศึกษา - อุดมศึกษา - ครู - บุคลากรภาคการผลิต )  ร่วมมือกันทุกหน่วยงาน / ทุกภาคส่วน

ผลผลิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น แนวทาง / มาตรการดำเนินการ ใน (ร่าง) แผนที่นำทางฯ แผนงาน งบประมาณ (ล้านบาท) ผลผลิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น บุคลากร วิจัย (คน) ปริญญา เอก (คน) เชิงคุณภาพ พัฒนาอัจฉริยภาพฯ 37,500 6,810 5,703 สร้างฐานกำลังคนที่มีคุณภาพสูง เพื่อพัฒนาขีด ความสามารถของประเทศในระยะยาว ขยายฐานการศึกษาฯ 2,900 - ร้อยละ 80 ของนักเรียนเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ด้าน วิทยาศาสตร์ พัฒนาครู อาจารย์ฯ 22,800 7,710 7,382 บุคลากรผู้สอนได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง พัฒนาคุณภาพบุคลากรฯ 16,400 3,780 3,009 อบรมบุคลากรในภาคอุตสาหกรรม ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 50 เป็นศูนย์กลางการศึกษาฯ 12,420 ยกระดับมาตรฐานสถาบันการศึกษาไทยสู่ระดับโลก พัฒนาโครงสร้างถาวร 200 เกิดโครงสร้างถาวร ดูแลการพัฒนากำลังคนใน ภาพรวม มาตรการรองรับฯ * แหล่งงานรองรับกำลังคนระดับสูง สร้างเส้นทางอาชีพนักวิจัย รวม 92,220 18,300 16,094 * เป็นการประสานงานกับคณะอนุกรรมการชุดอื่น ๆ ภายใต้คณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (กนวท.) อาทิ คณะอนุกรรมการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและสถาบัน และคณะอนุกรรมการปรับระบบบริหารจัดการด้านวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี ดำเนินการผลักดันให้เกิดการปฏิบัติที่สอดคล้องกันต่อไป

4.1 พัฒนาอัจฉริยภาพด้าน ว. และ ท. เน้นส่งเสริมเด็กอัจฉริยะ 4.1 พัฒนาอัจฉริยภาพด้าน ว. และ ท. เน้นส่งเสริมเด็กอัจฉริยะ 1) การพัฒนาอัจฉริยะสำหรับนักเรียน . โครงการ พสวท. . โครงการแข่งขันโอลิมปิกวิชาการ . การทำโครงงานวิทยาศาสตร์ 2) ค่ายวิทยาศาสตร์ถาวร 3) เพิ่มจำนวนโรงเรียนวิทยาศาสตร์และห้องเรียนวิทยาศาสตร์ 4) การพัฒนาอัจฉริยภาพด้าน ว. และ ท. สำหรับอุดมศึกษา และ การศึกษาหลังปริญญาเอก . หลักสูตรเกียรตินิยม . การจัดตั้งสถาบันการศึกษาเฉพาะทาง ว. และ ท. . การให้ทุนการศึกษา (เช่น ทุนกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ)

1) พัฒนาค่าย ว. และ ท. สำหรับเยาวชนทั่วไป 4.2 ขยายฐานการศึกษาด้าน ว. และ ท. ให้มีมากขึ้น 1) พัฒนาค่าย ว. และ ท. สำหรับเยาวชนทั่วไป 2) จัดการประกวดและแข่งขันด้าน ว. และ ท. 3) พัฒนาการศึกษาด้าน ว. และ ท. ด้วยสื่ออิเล็กทรอนิกส์ และระบบการศึกษาทางไกล 4) สร้างแรงจูงใจให้เยาวชนศึกษาด้าน ว. และ ท. 5) ส่งเสริมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ในโรงเรียนชนบท / ชุมชน

1) พัฒนาครู / อาจารย์ / ผู้สอนด้าน ว. และ ท. ที่มี 4.3 พัฒนาครู / อาจารย์ / บุคลากรผู้สอนด้าน ว. และ ท. 1) พัฒนาครู / อาจารย์ / ผู้สอนด้าน ว. และ ท. ที่มี ความสามารถพิเศษด้าน ว. และ ท. 2) ฝึกอบรมครู / อาจารย์ / ผู้สอนด้าน ว. และ ท. 3) จัดสรรทุนสำหรับอาจารย์ด้าน ว. และ ท. ในระดับ มหาวิทยาลัย 4) พัฒนาสื่อการเรียนการสอน

1) พัฒนาระบบหรือหน่วยงานรับผิดชอบ 4.4 พัฒนาคุณภาพบุคลากรด้าน ว.& ท. ให้ตรงกับความ ต้องการของภาคการผลิตและบริการ 1) พัฒนาระบบหรือหน่วยงานรับผิดชอบ - ตั้งศูนย์เฉพาะทางสำหรับภาคอุตสาหกรรม 2) จัดหลักสูตรฝึกอบรมเพื่อเพิ่มคุณภาพกำลังคนในคลัสเตอร์หลัก 3) ปรับหลักสูตรเน้นทักษะมากกว่าทฤษฎี 4) จัดตั้งโรงเรียนเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์ 5) พัฒนากำลังคนในเทคโนโลยีหลัก 4 สาขา - เทคโนโลยีชีวภาพ - เทคโนโลยีวัสดุ - นาโนเทคโนโลยี - ICT

1) จัดสรรทุนสำหรับนักศึกษาประเทศเพื่อนบ้าน 4.5 พัฒนาประเทศไทยให้เน้นศูนย์กลางการศึกษา ด้าน ว. และ ท. 1) จัดสรรทุนสำหรับนักศึกษาประเทศเพื่อนบ้าน 2) แลกเปลี่ยนนักวิจัยด้าน ว. และ ท. กับประเทศอื่น ๆ 3) สร้างแรงจูงใจให้สถาบันศึกษาที่มีชื่อเสียงระดับโลก มาลงทุนด้านการศึกษาในประเทศไทย ฯ ล ฯ 4.6 พัฒนาโครงสร้างองค์กรถาวร หรือหน่วยงานกลาง 1) จัดโครงสร้างองค์กรถาวร เพื่อกำหนดนโยบาย กำกับดูแล ผลักดันการปฏิบัติ 2) วิจัยเชิงนโยบาย

1) พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้าน ว. และ ท. 4.7 มาตรการรองรับการพัฒนากำลังคนด้าน ว. และ ท. ในด้านอื่น ๆ 1) พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้าน ว. และ ท. - อุทยานวิทยาศาสตร์ - ศูนย์แห่งความเป็นเลิศ 2) ส่งเสริมเส้นทางอาชีพ - โครงการวิจัยขนาดใหญ่ เพื่อสร้างงาน 3) ให้บริษัทข้ามชาติที่มีขีดความสามารถทางเทคโนโลยีสูง เข้ามาลงทุนในประเทศ

แนวคิดระบบการพัฒนากำลังคนทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีครบวงจร นักเทคโนโลยี นักวิทยาศาสตร์ / วิศวกรวิจัย ภาคเอกชน ป.เอก ส่งเสริมต่อ ผ่านโครงการวิจัย ที่มีผลกระทบสำคัญ ในด้านต่างๆ Consultants R&D หลักสูตร เน้นการ วิจัย และ พัฒนา สิ่งทอ Patents/License ICT ยานยนต์ เกษตร และอาหาร ชีวภาพ สุขภาพ ปริญญาตรี หลักสูตร พิเศษ KMUTT KMITL KMITNB RMUT etc. T V Q หลักสูตรเกียรตินิยมทางเทคโนโลยี หลักสูตร เกียรตินิยม สายวิทยาศาสตร์ การศึกษาในระบบปกติ CU MU TU etc. ปวส. นักเทคนิค Thai Vocational Qualification ม.6 แนวคิดระบบการพัฒนากำลังคนทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีครบวงจร ร.ร.เทคโนโลยี ฐานวิทยาศาสตร์ ร.ร. วิทยา- ศาสตร์ ม.3 ที่มา : แนวคิดการจัดตั้งโรงเรียนวิทยาศาสตร์ คณะอนุกรรมการพัฒนากำลังคนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี