LOGO การปฏิรูปการศึกษา ในทศวรรษที่สอง
แผนที่เดินทาง Roadmap
ช่วงรอยต่อ
Do less, get more Teach less, learn more
การปฏิรูปการศึกษา เดิม ใหม่ - บริหารฐานกรม - รวมศูนย์ - เน้นเนื้อหา - ครูเป็นศูนย์กลาง - การบริหารแบบ Routine - บริหารด้วยองค์กร หลัก - กระจายอำนาจ - เน้นกระบวนการคิด - นักเรียนเป็น ศูนย์กลาง - การบริหารแบบ ประกันคุณภาพ
เราใส่สูตรผิดหรือเปล่า - ลองผิดลองถูก - วิจัยแนวปฏิรูปนานาประเทศ - ถูกหลักทุกหมวด - แต่ไม่ลงกรอบรูป
การปฏิรูป ต้องเกิดจากข้าง ใน = Black Box
Black Box
การลงทุนทั่วโลก 2 ล้านล้านดอลล่าร์ ผล ? =
ผล PISA ความแตกต่างเกิดขึ้น ! ภายในประเทศ และระหว่างประเทศ
สิงคโปร์อยู่อันดับต้น สิงคโปร์ลงทุนเท่าไร ?
อังกฤษต้นแบบการปฏิรูป ผลผล ? ประกันคุณภาพ โรงเรียน - ชุมชน ท้องถิ่น / ส่วนกลาง นิเทศ คุณภาพ admission การจัดงบประมาณ SBM การวัดและ ประเมินผล มาตรฐาน หลักสูตร
สหรัฐอเมริกา S/T Class size กระจายอำนาจ (Decentralization) Charter School ผล = ?
คำตอบสุดท้าย “You can’t improve student learning without improving instruction ”
McKinsey’s Report เสนอว่า การลดชั้นเรียน ได้ผลเฉพาะ ในช่วงชั้นต้น ๆ เท่านั้น
เด็ก 8 ขวบ 2 คน (A,B) A เรียนกับครูเก่ง B เรียนกับครูอ่อน ภายใน 3 ปี A ห่างจาก B 50 เปอร์เซ็นไตล์ จาก Tennessee
“ กว่าจะถึง ป. ปลายก็ สายเสียแล้ว ” เพราะความสูญเสียโอกาสใน ชั้นต้นย้อนคืนไม่ได้
เด็กอายุ 7 ขวบ กลุ่ม Top 20 % มีโอกาสประสบ ความสำเร็จในมหาวิทยาลัย เป็น 2 เท่า ของกลุ่ม Bottom 20 % ( นี่คือเครื่องมือพยากรณ์ ที่ไม่ใช่ หมอดู )
ที่ อังกฤษ เด็กที่ไม่ผ่านเกณฑ์ อ่านเขียนเมื่ออายุ 11 ปี มีโอกาสเพียง 25 % ที่จะฟื้นฟู เมื่ออายุ 14 ปี
โครงการ TIMSS หาปัจจัยร่วม ของประเทศที่สำเร็จ พบว่ามี 3 องค์ประกอบ 1. ให้คนเก่งมาเป็นครู 2. พัฒนาคนเก่ง ให้เป็นครู เก่ง 3. จัดระบบสนับสนุนเพื่อลด ความเหลื่อมล้ำ ให้เด็กทุกคนเรียนกับครู เก่ง
- ปรับนโยบายด้านการ จัดสรรงบประมาณ - ปรับการบริหาร - ระบบแรงจูงใจ การทำให้เกิด องค์ประกอบทั้ง 3 จะต้อง
ICT เป็นเครื่องมือสำคัญ แต่ ICT ไม่ได้ลด ความสำคัญของครู
“ คุณภาพการศึกษาไม่สามารถสูงกว่าคุณภาพครู ” “Quality of education cannot exceed the Quality of teachers”
การ เรียนรู้ = ปฏิสัมพัน ธ์ระหว่าง ครูกับ นักเรียน
การส่งเสริมปฏิสัมพันธ์ ครู และนักเรียนด้วย ระบบพี่ เลี้ยง การวิจัยในชั้นเรียน ภาวะผู้นำในโรงเรียน ครูเรียนรู้จาก กันและกัน
“ เราจะได้ครูดี ต้องมีครูดีเป็นผู้ฝึก ” ประเทศญี่ปุ่นให้ความสำคัญกับ ระบบพี่เลี้ยงมาก
การจะได้ผู้บริหารที่ดี ต้องคัดครูดีมาเป็นครูใหญ่
ต้องให้ครูเรียนรู้จาก เพื่อนครู ต้องสร้างวัฒนธรรมความ ร่วมมือภายในโรงเรียน
Learnin g Environ ment Improved Budgeting System Take advantage of IT Enhance O- net Pisa No Single Solution Quality Teacher is Key
10 จุดเน้น สพฐ. Student Achievement Literacy & Numeracy EQ Excellence Alternative Education, 0% dropout
10 จุดเน้น สพฐ. Sufficiency Economy Southern-Border Province Asean Community Effective ESA Quality School
นโยบายเร่งด่วนปฏิรูป รอบ 2 พัฒนาทักษะผู้เรียน ปรับปรุงหลักสูตร T/L 70:30 พัฒนาครู ผลิตครูพันธุ์ใหม่ (Facilitator) ผลิตครูสาขาขาดแคลน ครูต่างประเทศ
นโยบายเร่งด่วนปฏิรูป รอบ 2 โรงเรียนดีประจำตำบล โรงเรียนดีประจำ อำเภอ โรงเรียน มาตรฐานสากล โรงเรียนขนาดเล็กและ ดีในชุมชน โรงเรียนคู่ พัฒนา 3Ns MOU สร้างแหล่งเรียนรู้ School Mapping Streaming คนเรียนอาชีวะ 60:40
LOGO