การพัฒนาระบบการจ่ายค่าตอบแทนตามผลการปฏิบัติงาน และการประเมินผล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ห้องประชุมสานฝัน โรงพยาบาลสังขะ
Advertisements

Innovative Solution Integration Co, Ltd
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
อมรรัตน์ พีระพล กลุ่มประกันสุขภาพ 3 ธ.ค.55
สำนักพัฒนาการเงินการคลังสาธารณสุข
การบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาผลการปฏิบัติงาน
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ผลการประเมินคุณภาพด้วยวาจา
นาวาอากาศตรีหญิง พรประภา โลจนะวงศกร
การจัดการกระบวนการภายในเพื่อโครงการทดลองจ่ายค่าตอบแทนตาม ผลการปฏิบัติงาน โรงพยาบาลพาน.
สถานการณ์ด้านการเงินการคลัง
จ่ายค่าตอบแทนตามภาระงาน
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
Road Map เขตบริการสุขภาพที่ ๑๒
การประเมินองค์กรแบบสมดุล (The Balance Scorecard by Kaplan & Norton)
การติดตาม และประเมินโครงการ.
การติดตามประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ (Site Visit II) รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2551 ณ ห้องประชุมลำพอง 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
การติดตามประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ (Site Visit II) รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 23 ธันวาคม 2551 ณ ห้องประชุมศาลาชื่นอารมณ์
นโยบายการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อขับเคลื่อนการคลังภาคสุขภาพ
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การวิเคราะห์งานวิจัย เรื่อง การพัฒนารูปแบบการประเมินประสิทธิผลองค์การภาครัฐเกี่ยวกับการศึกษาอาชีพนอกระบบโรงเรียน จัดทำโดย นายพิสณุ ฟองศรี หลักสูตรปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต.
การเสนอกระบวนงานบริการเพื่อขอรับการประเมิน
หมวด7 15 คำถาม.
1. การดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ/คณะทำงาน
ประเด็น หลักที่ 4 การบริหาร จัดการระบบ สุขภาพ. 4.1 การ บริหาร การเงินการ คลัง CFO.
ผศ.ดร.กัลยาณี คูณมี ทีมที่ปรึกษาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
CS 6: การวัดความพึงพอใจและไม่พึงพอใจ
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
มาตรฐานทางการเงิน 7 ด้าน
การพิจารณาคำขอรับค่าตอบแทนและอนุมัติให้ได้รับค่าตอบแทนตามระเบียบ ก. พ
โรงพยาบาลแก่งกระจาน วันที่ 30 มิถุนายน 2551
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ปัญหา ช่องว่างค่าตอบแทน เมื่อเทียบกับสาธารณสุข กทม. เอกชน
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนรายงานหมวดที่ 7 : ผลลัพธ์การดำเนินการ.
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk)
โดยตัวชี้วัด FAI ประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลังระดับเขต/จังหวัด
โครงการพัฒนาหลักสูตรการ บริหารงานภาครัฐสมัยใหม่สำหรับ ผู้บริหารระดับกลางในส่วน ภูมิภาค การประเมินผลแบบกลุ่ม ครั้งที่ 1 : การวางยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดและการถ่ายทอด.
การจัดการความรู้ด้านสุขภาพ
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
Strategy Map สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 4 จังหวัดขอนแก่น ปีงบประมาณ พ.ศ ร้อยละหรือระดับความสำเร็จของการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรมตามแผนงานโครงการปี
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
Evaluation as a Strategy ; สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
เรื่องของการแจ้งข้อมูล ข่าวสาร ต้อง ให้ฉับไว ถูกต้อง ด้านคุณภาพการให้บริการ ความพึง พอใจต้องสำรวจให้ครบทุกหน่วยงาน ต้องพัฒนาทักษะ ความรู้ความเข้าใจ จัดระบบงานใหม่ให้สอดคล้องกับความ.
IM I-4 การวัด วิเคราะห์ performance ขององค์กร และการจัดการความรู้
จะเริ่มอย่างไร ? จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต เพื่อส่งมอบให้จังหวัดนำเข้าสู่กระบวนการ(1)
วันที่ 1 กรกฎาคม 2557 ณ ห้องประชุมชั้น 7 โรงพยาบาลศูนย์อุดรธานี
การดำเนินงานประจำปี2557 สท.
มีอำนาจหน้าที่ตามกฎกระทรวง
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การวางแผนยุทธศาสตร์.
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
เป้าหมาย ตัวชี้วัด กระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2558
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
รายละเอียดของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
ประเด็นการตรวจราชการที่ ๕ : ประสิทธิภาพของการ บริหารการเงินการคลัง 2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง ตัวชี้วัด : ประสิทธิภาพของการบริหารการเงินสามารถ.
หลักธรรมาภิบาลใน WP นพ. ฑิฆัมพร จ่างจิต ผอก. รพ. พาน.
ปีงบประมาณ 2558 ครั้งที่ 2 การประชุม CFO จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
บทที่ 7 การควบคุมเชิงกลยุทธ์
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
ประเด็นการตรวจราชการที่ ๕ : ประสิทธิภาพของการ บริหารการเงินการคลัง 2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง ตัวชี้วัด : ประสิทธิภาพของการบริหารการเงินสามารถ.
Output , Outcome , Impact ของระบบสุขภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาระบบการจ่ายค่าตอบแทนตามผลการปฏิบัติงาน และการประเมินผล กฤษดา แสวงดี RN.,PhD. สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ (IHPP) กระทรวงสาธารณสุข

ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบค่าตอบแทน : Shift from the Total Compensation to Total Rewards Salary Bonus Paid time off Life time employed Welfare benefits

ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบค่าตอบแทน : Shift from the Total Compensation to Total Rewards Indirect financial rewards Work content Career value Affiliation Direct financial rewards

ข้อเสนอ : กระบวนการทำงาน ออกแบบกระบวนการและสร้างการมีส่วนร่วม แต่งตั้งคณะทำงาน ประกอบด้วยผู้บริหารและเจ้าหน้าที่จากทุกส่วนงาน ฝึกอบรม/ให้ความรู้เกี่ยวกับแนวคิดและหลักการของระบบค่าตอบแทนตามผลการปฏิบัติงาน พัฒนาระบบการสื่อสารภายในองค์กร ที่ชัดเจน ทั่วถึง การรับฟังปัญหา/ข้อคิดเห็น การตอบสนองต่อข้อคิดเห็น ที่สำคัญคือ Respect to people

ข้อเสนอ : กระบวนการทำงาน 2. กำหนดขอบเขตการใช้งานของระบบค่าตอบแทน P4P ครอบคลุม งาน หรือบุคลากรกลุ่มใดบ้าง หรือครอบคลุมทั้งหมด ต้องคำนึงถึงการเชื่อมโยงเป้าหมายของบุคคลเข้ากับเป้าหมายขององค์กร 3.กำหนดหลักเกณฑ์เพื่อคำนวณ point และวงเงินที่จะจ่าย องค์กรควรกำหนดมาตรฐานผลการปฏิบัติงานเพื่อเป็นเกณฑ์เปรียบเทียบผลงานของ Staff ว่าดีกว่ามาตรฐานที่กำหนด หรือไม่เพียงใด ควรตอบแทนอย่างไร ต่อผลงานนั้น

ข้อเสนอ : กระบวนการทำงาน 4. กำหนดกระบวนการแบ่งสัดส่วนค่าตอบแทน ผู้บริหารแต่ละระดับ ผู้ปฏิบัติงานที่มีความรับผิดชอบต่อผลสำเร็จขององค์กรในระดับที่ต่างกัน 5.กำหนดความถี่ของการจ่ายค่าตอบแทน รายเดือน รายไตรมาส รายปี 6. กำหนดระบบและกระบวนการประเมินผล

การอภิบาลระบบ กำกับและประเมินผล ผู้บริหาร รพ. จำเป็นต้อง ประเมินสถานะทางการเงินอย่าง เพื่อบ่งชี้ความพร้อมด้านการเงิน สำหรับระบบการจ่ายค่าตอบแทน P4P และมีการประเมินสถานะทางการเงิน มีระบบบัญชีที่ถูกต้อง โดยสามารถจัดทำงบการเงินตามระบบเกณฑ์ คงค้าง (Accrual basis) ได้ถูกต้องทันเวลา และสามารถแสดงข้อมูล งบดุล ผลการดำเนินงาน และบัญชีกระแสเงินสดทางตรงได้ มีระบบตรวจสอบจากนักวิชาการด้านการเงินบัญชี มีการนำข้อมูลทางการเงินไปวิเคราะห์สถานการณ์ทุก 1 – 3 เดือน ด้วยดัชนีด้านการเงินแสดงถึงความพร้อมในด้านต่าง ๆ ได้แก่ รายรับมากกว่ารายจ่าย (I/E ratio > 1) รายรับมากกว่ารายจ่าย (I/E ratio > 1) สภาพคล่อง ซึ่งวัดจาก Quick ratio และ Current ratio มีผลการดำเนินงานกำไร และดัชนีประสิทธิภาพอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานที่สำนักงานปลัดกระทรวงกำหนด เป็นต้น

การรายงานผลการดำเนินงานในระยะแรก ให้ รพ. ที่จ่ายค่าตอบแทนตามผลการปฏิบัติงาน ส่งรายงานการจ่ายฯ ประจำเดือนส่งต่อมายัง สนย. สป. ผ่าน สสจ. :- ยอดรวมงบที่ใช้การจ่ายค่าตอบแทน P4P งบที่ใช้การจ่ายค่าตอบแทน P4P เฉลี่ยต่อจำนวนบุคลากรทั้งหมด output indicator เช่น ค่า Case Mix Index(CMI), total RW, ค่าตอบแทนเฉลี่ยต่อค่าคะแนนปฏิบัติงานแต่ละวิชาชีพ เป้าหมายและตัวชี้วัดของ รพ. ที่เลือกมาเป็นเกณฑ์การคิดคะแนนผลการปฏิบัติงานด้านคุณภาพ เป็นต้น แบบฟอร์มรายงาน ประจำเดือน ส่วนกลางจะแจ้งทางการอีกครั้ง

Monitoring and Evaluation Framework ส่วนกลางจะดำเนินการภายใต้กรอบการวิจัยประเมินโครงการ โรงพยาบาลมีกระบวนการดำเนินงานอย่างไร สอดคล้องกับคู่มือหรือไม่อย่างไร ผลลัพธ์เป็นอย่างไร ประสิทธิผล ต่อองค์กร, ผู้รับบริการ,ผู้ให้บริการ ประสิทธิภาพ และ คุณภาพ มีปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาต่อเนื่องอย่างไร