ENL 3701 ภาษาศาสตร์และการอ่าน 1 Linguistics and Reading English 1

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วิธีการเรียนบทเรียนมัลติมีเดีย Great Wall Chinese
Advertisements

สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
สรุปภาพรวมการเรียนรู้
การเขียนผลงานวิชาการ
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
ER 2104 หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 3(3-0)
ข้อแนะนำในการนำเสนอโครงการ
ตัวอย่าง การปรับปรุงข้อสอบ วิชา LB105: Study Skills ภาคที่ 1 / 2545 ( ก่อนการปรับปรุงเป็นข้อ 78 หลังการปรับปรุงเป็นข้อ 20 )
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
นำเสนออย่างไร ให้โดนใจอาจารย์
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
สรุปภาพรวมการเรียนรู้
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
ครูอิงครัต กังวาลย์ โรงเรียนทุ่งสง
 การสอนแบบอภิปราย.
ข้อบกพร่องที่พบในรายงาน โดย รศ.ดร.สุชาดา บวรกิติวงศ์
หลักการพัฒนา หลักสูตร
การเขียนขยายเค้าโครงเอกสารแต่ละบท ให้มีเนื้อหาสมบูรณ์
องค์ประกอบ e-Learning และ WBI
LOGO โครงการประชุมสัมมนาถ่ายทอดนโยบาย ของมหาวิทยาลัยสู่ ผู้บริหารระดับหัวหน้า ภาควิชา สาขาวิชา “70 ปี มหาวิทยาลัยศิลปากร : โอกาสและ ศักยภาพการเป็นผู้นำ.
แนะนำวิทยากร.
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูป การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
นำเสนอหนังสือวิชาการ
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
หน่วยที่ 1 ภาษากับการสื่อสาร.
ชุดวิชา QM604 วิธีการวิจัยและพัฒนาคุณภาพ RESEARCH AND DEVELOPMENT IN QUALITY ผศ.ดร.กฤษดา กรุดทอง.
วัตถุประสงค์ของการศึกษาด้วยกรณีศึกษา
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
จากการสังเกต นำไปสู่คำถามวิจัย นำไปสู่สมมติฐาน
ขั้นตอนที่ 5 การนำเสนอแฟ้มผลงาน (Portfolio)
การนำเสนอแฟ้มผลงานรับฟังความคิดเห็น (ประชาพิจารณ์)
กระบวนการทำแผนการจัดการเรียนรู้
การเขียนรายงานการวิจัย
การสอนแบบบรรยาย-อภิปราย
การซ้อมแผนไข้หวัด ๒๐๐๙ ในโรงเรียน. เป้าหมายของการประชุมกับ โรงเรียน คุณครู..... ได้รับความรู้และเกิดความตระหนักต่อ ปัญหาของไข้หวัด 2009 จากการบรรยาย (
แนวทางการก้าวสู่การเป็น
Welcome to the English Lesson…
ท่านเกิดปัญหานี้หรือไม่
ทบทวนทฤษฎีหลักสูตร ดร.อมรา เขียวรักษา.
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4)
การยกระดับคุณภาพ การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
กิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิต
วัตถุประสงค์ของการศึกษา
Introduction to Business Information System MGT 3202
การเขียนรายงาน.
การสอนกลุ่มใหญ่(Large Group Teaching)
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
(Stand & Deliver as Profressional for Management)
ผู้วิจัย อาจารย์วิโรจน์ เด่นวานิช
หัวข้อการเรียน สัปดาห์ที่ ๓ ENL 3701
มศว 365 การจัดการสมัยใหม่ (Principles of Modern Management)
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
หัวข้อการเรียน สัปดาห์ที่ ๔ ENL 3701
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
1.ความหมายของสื่อการเรียนการสอน/ประเภทของสื่อการเรียนการสอน
ENL 3701 เนื้อหา ๑ ภาษาคืออะไร.
การวางแผนการใช้สื่อ    การใช้สื่อการสอนต้องมีการวางแผน โดยในขั้นของการวางแผนคือ การ พิจารณาว่าจะเลือกใช้สื่อใด ในการเรียนการสอน ในการใช้สื่อใน การเรียนการสอนการวางแผนการใช้สื่อนับเป็นขั้นตอนแรก.
หัวข้อการบรรยาย ENL 3701 Week #2
ภาษาและเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับครู
ภาษาและเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับครู
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
รายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3)
1. ทำบันทึกการสอนได้ อย่างเหมาะสม 2. ปฏิบัติการสอนตามบันทึก การสอนได้ 1. ทำบันทึกการสอนได้ อย่างเหมาะสม 2. ปฏิบัติการสอนตามบันทึก การสอนได้ เมื่อจบบทเรียนนี้แล้วผู้เข้ารับการ.
นางสาววัชรา เชื้อรามัญ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
การนำเสนอสารด้วยวาจา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ENL 3701 ภาษาศาสตร์และการอ่าน 1 Linguistics and Reading English 1 หัวข้อการบรรยาย ภาคเรียนที่ 1/2556

หัวข้อการบรรยายในสัปดาห์ 1/56 1. ปฐมนิเทศการเรียน การสอนในสัปดาห์แรก 2. จุดประสงค์ของการเรียนในหน่วยที่ 1 3. เค้าโครงเรื่องและเนื้อหาในหน่วยที่ 1 4. กิจกรรมการเรียน การสอนในสัปดาห์แรก 5. การแบ่งกลุ่มอภิปรายและประเด็นปัญหาในการอภิปราย 6. การฝึกทักษะในการตอบคำถามแบบอัตนัย-ปรนัย

ปฐมนิเทศการเรียนการสอนในสัปดาห์แรก 1. นักศึกษาสำรวจเอกสารกำหนดการเรียนการสอนในภาคเรียนนี้ เพื่อทราบวัน-เวลาการเข้าฟังการบรรยายในชั้นเรียน ตึกเรียน และหัวข้อที่จะต้องเตรียมก่อนมาฟังการบรรยายในแต่ละสัปดาห์ 2. นักศึกษาสำรวจตำราที่จะใช้ประกอบการเรียนการสอนในวิชานี้ 3. นักศึกษาทราบกำหนดการงดบรรยายในระหว่างการสอบซ่อม (ทั่วไป)และกำหนดการสอบไล่ปลายภาคเรียนสำหรับวิชานี้ 4. นักศึกษารู้วิธีวางแผนการเรียน การบริหารเวลาในการอ่านตำรา ทบทวนเนื้อหา และทำแบบฝึกหัด แต่ละหน่วยการเรียน นอกเวลาเรียน

เค้าโครงเรื่องการบรรยาย/อภิปราย ภาษาศาสตร์คืออะไร 1. ความหมายของภาษา 2. ความหมายของภาษาศาสตร์ 3. ประวัติความเป็นมาของวิชาภาษาศาสตร์ 4. การแบ่งขอบข่ายของวิชาภาษาศาสตร์

จุดประสงค์ (Objectives)ของการเรียน 1. อธิบายความหมายของคำว่า “ภาษา” ได้ถูกต้อง 2. อธิบายความหมายของคำว่า “ภาษาศาสตร์” ได้ถูกต้อง 3. ลำดับประวัติความเป็นมาของวิชาภาษาศาสตร์โดยสังเขปได้ชัดเจน 4. จำแนกการแบ่งขอบข่ายของวิชาภาษาศาสตร์ได้ครบถ้วน

กิจกรรมการเรียน การสอนในสัปดาห์แรก 1. การบรรยาย การกำหนดประเด็นเนื้อหา การอภิปราย และการตอบคำถาม 2. สัปดาห์แรกจะครอบคลุมเนื้อหา ๒ เรื่อง คือ 2.1 ความหมายของภาษา 2.2 ความหมายของภาษาศาสตร์ 3. การเตรียมเนื้อหาและการอ่านเพื่อการเรียนในสัปดาห์ที่สอง 3.1 ประวัติความเป็นมาของวิชาภาษาศาสตร์ 3.2 การแบ่งขอบข่ายของวิชาภาษาศาสตร์

เนื้อหา “ความหมายของภาษา” เอกสารตำรา ENL 3701 หน้า 4 – 8 คำถามที่ให้ช่วยกันตอบ 1.1 “ ภาษา” ตามความเห็นของนักภาษาศาสตร์มีลักษณะอย่างไร การแบ่งกลุ่มศึกษาเนื้อหา และประเด็นปัญหา และการอภิปราย 1. ภาษาเป็นเรื่องของมนุษย์ (Language is human) ประเด็นปัญหา 1.1 เพราะเหตุใดภาษาจึงเป็นเรื่องของมนุษย์เท่านั้น สัตว์ก็มีภาษาเหมือนกัน แต่ทำไมนักภาษาศาสตร์จึงไม่นับรวมอยู่ด้วย

ภาษาที่แท้จริงคือภาษาพูด (Language is primarily oral) 1.2 ภาษามีหลายชนิด เช่น ภาษาพูด (Spoken ,Oral language)ภาษาเขียน (Written language) วจนภาษา (Verbal language) ภาษากายหรือภาษาท่าทาง (อวัจนภาษา Non-verbal language) ทำไมนักภาษาศาสตร์จึงให้ความสำคัญ หรือเน้นเฉพาะภาษาพูด

ภาษาถ่ายทอดวัฒนธรรม Language is culturally transmitted 2.1 ภาษากับวัฒนธรรมเหมือนกันหรืแตกต่างกัน 2.2 ภาษาถ่ายทอดวัฒนธรรมได้อย่างไร

ภาษาเป็นสิ่งที่กำหนดขึ้นและมีระบบ Language is arbitrary and systematic 3.1 ภาษาเกิดขึ้นได้อย่างไร คำว่ามีระบบหมายถึงอย่างไร

ภาษาคือนิสัย (Languge is habit) 4.1 ที่ว่า “ภาษาคือนิสัย” มีความหมายว่าอย่างไร 4.2 มนุษย์เรียนรู้ภาษาได้ตั้งแต่เมื่อไร

ภาษาเป็นเรื่องเฉพาะตัว (Language is personal) 5.1 ภาษาเป็นเรื่องเฉพาะตัว มีลักษณะอย่างไร 5.2 ภาษาที่เป็นเรื่องเปิดเผยสู่สาธารณะ เป็นอย่างไร

ภาษาของแต่ละกลุ่มไม่มีดีหรือเลว ไม่มีถูกหรือผิด Language of a given group is neither “good” or “bad” nor “right” or “wrong.” 6.1 ทำไมจึงกำหนดว่าภาษาของคนในแต่ละกลุ่ม ไม่มี ดี หรือ เลว ถูก หรือ ผิด

ภาษาจะมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างช้าๆ (Language is always changed slowly) 7.1 การเปลี่ยนแปลงของภาษาในแต่ละท้องถิ่นหรือชุมชนจะเป็นไปในลักษณะใด ยกตัวอย่างคำพูดที่เราเคยได้ยินเมื่อ 5 – 10 ปีก่อน ขณะนี้ยังมีอยู่หรือหายไปแล้ว

2.ความหมายของ “ภาษาศาสตร์” ภาษาศาสตร์มีความหมายเป็น ๒ นัย 1. การศึกษาธรรมชาติและโครงสร้างของภาษาใดภาษาหนึ่งและภาษาโดยทั่วไป 2. การศึกษาธรรมชาติของการสื่อสารด้วยภาษา แนวทางการอภิปราย 1.1 ธรรมชาติและโครงสร้างของแต่ละภาษาเป็นอย่างไร ยกตัวอย่างเช่น ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ภาษาเวียดนาม ฯลฯ 1.2 ภาษาโดยทั่วไป (ภาษาสากล Language universal)

ธรรมชาติและโครงสร้างของภาษา ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ภาษาเวียดนาม ภาษาสากล เสียง ไวยากรณ์ ความหมาย ตัวหนังสือ Tonal Language -การเรียงคำพูด -ไม่มีการผันคำกริยาตามกาล -มีคำบอกจำนวน -มีตัวหนังสือ -Non-tonal -Word stress -Intonation -Verb form changed from time aspects -Lineal forms -S V O - V O, S -Content -Functional -no script + S V O - V O

ตัวอย่างการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ภาษาเวียดนาม สบายดีไหม How are you? Ban co khoe khong ฉันไม่สบาย I am sick. Toi bi om ของฉันหาย I lost something. Bi mat do ลาก่อน Goodbye Tam biet แล้วพบกันใหม่ See you again. Hen gap lai

3.การศึกษาวิชา “ภาษาศาสตร์” 3.การศึกษาวิชา “ภาษาศาสตร์” วิชาภาษาศาสตร์ (Linguistics) นักภาษาศาสตร์ (Linguists) คำถามที่ให้ช่วยกันตอบ 1. ภาษาศาสตร์เป็นวิชาว่าด้วยอะไร 2. นักภาษาศาสตร์มีวิธีการศึกษาภาษาอย่างไร