จิตวิทยาเด็กกระทำความผิด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นพ. ภาณุ คูวุฒยากร จิตแพทย์ รพ. สวนปรุง
Advertisements

หอผู้ป่วยจิตเวช 2 ยินดีนำเสนอ.
ลักษณะของครูที่ดี.
การลดความวิตกกังวล.
ข้อมูลการดำเนินงานของกลุ่มเด็กปฐมวัย ๐ – ๓ ปี
รายงานผลการศึกษาทางจิตวิทยา นักเรียนหญิงก่อเหตุทำร้ายกัน
การเฝ้าระวังนักเรียน นักศึกษา ในระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
โรคสมาธิสั้น.
ชื่อเรื่อง ไตรสิกขาพัฒนาสุขภาพจิต จัดทำโดย ด. ช
ด.ช.ประธาน โสมาสี ม.3/1 เลขที่06 เสนอ คุณครู ทัศนีย์ ไชยเจริญ
สุขบัญญัติ 10 ประการณ์ 1. ดูแลรักษาร่างกายและของใช้ให้สะอาด
เรื่องไตรสิขาพัฒนาสุขภาพจิต
หัวใจของแผน HRD หัวใจของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
สัปดาห์ที่ 5 เรื่อง การจูงใจ.
สัปดาห์ที่ 3 เรื่อง พฤติกรรมและการเปลี่ยนแปลง
๒ การจัดระเบียบทางสังคม (Social Organization)
พฤติกรรม เบี่ยงเบนทางเพศ.
พัฒนาการทางสังคมของวัยรุ่น
อารมณ์และความต้องการของวัยรุ่น
รายวิชา จิตวิทยาความรุนแรงและความก้าวร้าวในสังคม
เพื่อเป็นการทำความเข้าใจตนเองและผู้อื่น พื้นฐานในการสร้างมนุษยสัมพันธ์
ปัญหาเด็กไทย 1. เร่ร่อน/ ถูกทอดทิ้ง 6. เสพบุหรี่ สุรายาเสพติด
การพัฒนานักเรียนโดยครูและโรงเรียน
มนุษย์ มนุษย์เป็นสัตว์สังคม มนุษย์เป็นสัตว์โลก มนุษย์เป็นสัตว์ประเสริฐ
การจัดระดับความเหมาะสมของรายการโทรทัศน์ : ทำไม อะไรอย่างไร โดยใคร ???
แนวคิดและทฤษฎีทางจริยธรรม
มนุษย์สัมพันธ์ ในการทำงานเป็นทีม
การจูงใจ (Motivation)
สุขภาพจิต และการปรับตัว
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
คัชชาตา เจริญวงค์ นักจิตวิทยาคลินิก ศูนย์สุขภาพจิตที่ 4 กรมสุขภาพจิต
สถานี รู้เรา รู้เขา. ๑ เรียนรู้สถานการณ์ ปัญหาอนามัย การเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น ๒ แนวทางอนามัยการ เจริญพันธุ์ใน วัยรุ่น ๓ ความรู้และทักษะที่วัยรุ่น ความ.
ปัญหาที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในวัยรุ่น
(Individual and Organizational)
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง (Conflict and Negotiation)
ความต้องการของวัยรุ่น และ การให้คำปรึกษาวัยรุ่นที่มีพฤติกรรมเสี่ยง
เทคนิคการสร้างเสริมเด็กวัยเรียน
บุคลิกภาพกับการเป็นผู้นำที่มีจิตสำนึก
บทที่ 4 การศึกษาตนเอง By chotika thamviset.
ส่งเสริมสัญจร.
อ. อัศวินี นามะกันคำ ภาควิชาการพยาบาลจิตเวช
การส่งเสริมพัฒนาการทางสังคมสำหรับเด็กปฐมวัย
ความเป็นมาของกิจกรรมYC ท่ามกลางความวุ่นวายของสังคม และสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว  วัยรุ่นไทยได้รับการครอบงำจากสื่อ วัฒนธรรมจากต่างชาติ
อาณ์รมของเด็ก     ลักษณะเด่นทางอารมณ์ของเด็กวัย 3-5 ขวบ มักเป็นเด็กที่แสดงออกอย่างเปิดเผยชัดเจน และแสดงออกตรง ๆ เช่น รัก รื่นเริง โกรธ โมโห หงุดหงิด อิจฉา.
เทคนิคการให้คำปรึกษาวัยรุ่น
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
การเขียน.
นางนวธัญย์พร ศรีจันทร์ พยาบาลวิชาชีพ ชำนาญการ
ความผิดปกติทางเพศ เฟตติชิซึ่ม (fetishism).
Succsess story กลุ่มงานฟื้นฟูสมรรถภาพหญิง
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
สุขภาพจิตที่ดี โรคจิต โรคประสาท การฝึกนั่งสมาธิ ข้อแตกต่าง โรคจิต
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
งานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค รพ.หาดใหญ่
BEST PRATICES การจัดการเรียนรู้ระดับปฐมวัยที่ดี “ อนุบาลน้อย
การรักษาและดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะบกพร่องทางจิต
ธรรมชาติของเด็กวัยเรียน พัฒนาการเด็กวัยเรียน (อายุ 6-12 ปี)
กิจกรรมการจัดการกับ อารมณ์และความเครียด.
ความแตกต่างระหว่างวัยรุ่นชายและวันรุ่นหญิง
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
นางสาวนิตย์ติญา ดวงใจ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ
ความแตกต่างระหว่างบุคคล
ทฤษฎีการให้คำปรึกษาเชิงจิตวิเคราะห์Psychoanalysis
สื่อโทรทัศน์กับ การรับรู้ของเด็ก
ระบบการจัดระดับความเหมาะสมของเกมคอมพิวเตอร์
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
การปฏิบัติตัวในวัยรุ่น
การปฏิบัติตัวของวัยรุ่น
ครูวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 สอนโดย นายวิเชียร มีสม พ หน่วยการเรียนที่ 2 เรื่อง ค่านิยมที่ดีและเหมาะสม ของเพื่อนสนิท.
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ใบสำเนางานนำเสนอ:

จิตวิทยาเด็กกระทำความผิด อรพรรณ เลาหัตถพงษ์ภูริ

พฤติกรรมเด็กกระทำผิด ดื้อ ต่อต้าน ก้าวร้าว เกเร อะไรเป็นสาเหตุที่ทำให้มีพฤติกรรมดังกล่าว ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตัวเด็ก ครอบครัว สังคม – โรงเรียน เพื่อน สภาพแวดล้อม สื่อ

ปัจจัยที่ตัวเด็ก ขนาดร่างกาย ความผิดปกติของร่างกาย โรคและความผิดปกติของสมอง เช่น ลมชัก ซึมเศร้า สมาธิสั้น การเรียนรู้บกพร่อง โรคดื้อ เชาวน์ปัญญาต่ำ ลักษณะนิสัย พื้นอารมณ์ หงุดหงิดง่าย เครียดง่าย มองโลกแง่ร้าย ไม่เห็นคุณค่าในตนเอง ขาดการยับยั้งชั่งใจ มีความประพฤติเกเรตามเกณฑ์วินิจฉัยแยกโรคทางจิตเวช ก้าวร้าวต่อคนและสัตว์ - ทำลายสิ่งของ หลอกลวง ลักขโมยไม่เผชิญหน้า - ละเมิดฎเกณฑ์

ปัจจัยครอบครัว รูปแบบการเลี้ยงดู แบบเข้มงวด ปล่อยปละละเลย การฝึกวินัยที่ใช้การลงโทษ ความขัดแย้งของครอบครัว หรือการแยกกัน การเป็นแบบอย่างไม่ดีของพ่อแม่พี่น้อง การใช้ความรุนแรง หรือทอดทิ้ง ความสัมพันธ์ของพ่อแม่กับเด็ก

ปัจจัยสิ่งแวดล้อม โรงเรียน เพื่อน การเข้าเรียน ผลการเรียน เพื่อน การถูกเพื่อนปฏิเสธ ถูกกลั่นแกล้ง คบเพื่อนไม่ดี สภาพแวดล้อม ไม่เหมาะสม – มั่วสุม กดดัน การเรียนรู้ สื่อ ตัวแบบไม่เหมาะสม

ทฤษฎีเกี่ยวกับการเกิดพฤติกรรม ทฤษฎีโครงสร้างของจิต Sigmund Freud ประกอบด้วย Id Ego Superego เมื่อ Ego ไม่สามารถทำตาม Id ได้เพราะขัดกับ Superego จึงวิตกกังวล เครียด และผลักดันเป็นกลไกป้องกันตนเอง Defense Mechanism เก็บกด - เลียนแบบ -แสดงพฤติกรรมตรงข้าม ตำหนิผู้อื่น -ถดถอย -ทดแทน -แทนที่

ทฤษฎีเกี่ยวกับการเกิดพฤติกรรม ทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการ ๕ ขั้น Abraham Maslow ขั้นที่ ๑ ความต้องการทางร่างกาย ขั้นที่ ๒ ความมั่นคงปลอดภัย ขั้นที่ ๓ ความรักความเป็นเจ้าของ ขั้นที่ ๔ ความภูมิใจในตนเอง นับถือตนเอง ประสพความสำเร็จ ได้รับยกย่อง มีชื่อเสียง ขั้นที่ ๕ ความรู้สึกว่าตนเองมีคุณค่า ความต้องการรู้และเข้าใจ ความต้องการทำสิ่งที่ดีงาม

ทฤษฎีเกี่ยวกับการเกิดพฤติกรรม ทฤษฎีการเรียนรู้ ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิก Ivan Pavlov ทดลองกับสุนัข โดยให้อาหารพร้อมกับการสั่นกระดิ่งแล้วน้ำลายไหล US + CS = CR ทฤษฎีการเสริมแรง B.F.Skinner ทดลองกับหนู เมื่อกดคานแล้วได้อาหาร A -------> B -------> C

ทฤษฎีเกี่ยวกับการเกิดพฤติกรรม ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคม Bandura พฤติกรรมเกิดจากการเรียนรู้โดยการสังเกตหรือการเลียนแบบ ตัวแบบ ได้แก่ คน สัญลักษณ์ กระบวนการสังเกต ได้แก่ การตั้งใจ การจดจำ การนำมาแสดงเป็นพฤติกรรม การจูงใจ

ทฤษฎีเกี่ยวกับการเกิดพฤติกรรม ทฤษฎีพัฒนาการทางบุคลิกภาพของ Sigmund Freud ขั้นปาก อายุเกิดถึง ๑๘ เดือน การดูด การกิน (สูบบุหรี่ กินจุ พูดนินทา) ขั้นทวารหนัก ๑๘ เดือน – ๓ ปี การขับถ่าย (เจ้าระเบียบ รก สุรุ่ยสุร่าย ตระหนี่ ขี้หึง) ขั้นอวัยวะสืบพันธุ์ ๓ – ๕ ปี เด็กชายรักแม่ อิจฉาพ่อจึงเลียนแบบพ่อ (รักร่วมเพศ) ระยะแฝง ๖ – ๑๒ ปี เล่นกับเพศเดียวกัน เริ่มปรับตัวสู่วัยผู้ใหญ่ ระยะพึงพอใจเพศตรงข้าม ๑๒ – ๒๐ ปี ความเป็นตัวของตัวเอง

ทฤษฎีเกี่ยวกับการเกิดพฤติกรรม ทฤษฎีพัฒนาการของ Erikson ๘ ขั้น ความรู้สึกไว้วางใจหรือไม่ไว้วางใจ เกิด – ๒ ปี ความเชื่อมั่นในตัวเองหรือระแวงสงสัย ๒ – ๓ ปี ความคิดริเริ่มหรือความรู้สึกผิด ๓ – ๕ ปี ความขยันหมั่นเพียรหรือความรู้สึกต่ำต้อย ๖- ๑๒ ปี ความมีเอกลักษณ์หรือสับสนในบทบาทของตน ๑๒ – ๑๗ ปี เลียนแบบบุคคลอื่น เกิดปัญหาความสัมพันธ์กับพ่อแม่ คล้อยตามเพื่อน ความรู้สึกว่ามีเพื่อนหรือรู้สึกอ้างว้าง ๑๗ – ๒๑ ปี

ทฤษฎีเกี่ยวกับการเกิดพฤติกรรม ทฤษฎีจริยธรรม Kohlberg มี ๓ ระดับ ๖ ขั้นตอน ระดับที่ ๑ บุคคลยึดตนเองในการตัดสินการกระทำ ๒ – ๑๐ ปี ขั้นที่ ๑ หลักการเชื่อฟังคำสั่งและหลีกเลี่ยงการถูกลงโทษ ขั้นที่ ๒ หลักการแสวงหารางวัล ระดับที่ ๒ บุคคลเรียนรู้ที่จะกระทำตามกฎเกณฑ์ ๑๐ – ๑๖ ปี ขั้นที่ ๓ หลักการทำตามที่ผู้อื่นเห็นชอบ ขั้นที่ ๔ หลักการทำตามหน้าที่ทางสังคม กฎหมาย ระดับที่ ๓ บุคคลตัดสินตามความคิดและเหตุผลของตนเอง ๑๖+ ปี ขั้นที่ ๕ หลักการทำตามคำมั่นสัญญา ขั้นที่ ๖ หลักการยึดอุดมคติสากล