โครงการวิจัย เรื่อง การศึกษาการบริหารจัดการขยะและเทคโนโลยีที่เหมาะสมโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โรงเรียนพัฒนาสู่มาตรฐานสากล สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
Advertisements

โครงการวิจัยและพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยการจัดการความรู้
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
สรุปข้อเสนอแนะ กลุ่มผู้แทนหน่วยงานภาครัฐ เครือข่ายการมีส่วนร่วมภาคประชาชนระดับภูมิภาค.
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
โดย โครงการช่วยกันสานเพื่อส่งเสริมคุณค่าผู้สูงอายุ
โครงการการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการข่าวสาร ในสถานการณ์วิกฤติ ฉุกเฉิน และเร่งด่วน โดยกลุ่ม...โบ X 2.
Live and Learn Library Tour เรียนรู้สู่การปฏิบัติจริง
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
( สมุทรสงคราม สมุทรสาคร เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ )
สำนักบริหาร การมีส่วนร่วมของประชาชน
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
ชุมชน สังคม ภาคใต้บน ชาติ นานาชาติ
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
ขับเคลื่อน....ความร่วมมือ.... ด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ภาคเหนือ
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี พ.ศ.2557 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอร้องกวาง
“ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ”
สรุปผลการเข้ารับการฝึกอบรม หลักสูตร “LEADERSHIP DEVELOPMENT PROGRAM” ของ นางนงลักษณ์ บุญก่อ ตำแหน่งนักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สำนักตรวจราชการและติดตามประเมินผล.
วันที่ถ่ายทอด มีนาคม 2548 สถานที่ถ่ายทอด โรงแรมเทวราช อ.เมือง จ.น่าน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
การประชุมกลุ่มย่อยเรื่อง ด้วย การพัฒนาศักยภาพ ของภาคประชาชน / แรงงาน / ผู้บริโภค ในการสนับสนุนให้นำ GHS ไป ปฏิบัติ ประธาน : ผศ. สำลี ใจดี เลขานุการกลุ่ม.
สรุปการประเมินกระบวนการทำงานส่งเสริมสุขภาพ เรื่อง แผนบูรณาการในภาพรวม
โครงการพัฒนาสติปัญญาเด็กไทย ปี 2551
การจัดประชุมเฉพาะกลุ่มที่ เกี่ยวข้องโดยตรง Focus Group 4 th กลยุทธ์การส่งเสริมและพัฒนา เสริมสร้างศักยภาพอุตสาหกรรม ICT ไทย “ โครงการส่งเสริมงานวิจัยและ.
การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการย่อย (Mini-SLM)
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และ อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
“โครงการสร้างสุขระดับจังหวัด….” จากแผนงานสร้างเสริมสุขภาพจิต(สสส.)
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
สมาชิกกลุ่มที่ 1 นางวันเพ็ญ มหาชัย อ.วังวิเศษ จ.ตรัง ประธาน
กลุ่ม 3 ผู้นำเสนอ นายปรีชา คงเกลี้ยง เกษตรอำเภอเมืองชลบุรี
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
ศูนย์ศึกษาและพัฒนาลำไยหริภุญชัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แนวทางการพัฒนาคลินิก DPAC
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
โครงการการพัฒนางานเชิงระบบ โดยกระบวนการวิจัยในงานประจำ (R2R)
วิจัยเพื่อชุมชน : การประเมินและถ่ายทอดเทคโนโลยีเกษตรยั่งยืน
เกรียงเดช เจริญทรัพย์
โครงการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้แบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน
วิธีการพัฒนาสถานศึกษาพอเพียงเป็นศูนย์การเรียนรู้ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา
การจัดการเรียนรู้/ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
การเขียนข้อเสนอโครงการ
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
แผนการดำเนินงาน ของศูนย์กฎหมาย ปีงบประมาณ พ.ศ กรมควบคุมโรค
การวางเค้าโครงการวิจัยในชั้นเรียน
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
สำหรับโรงเรียนจัดตั้งใหม่ให้พิจารณาตามความต่อเนื่อง
กลุ่ม A2 “ข้าวเด้ง”.
ศึกษารูปแบบการแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศ ในพื้นที่จังหวัดจันทบุรี
โครงการวิจัย 1 ปัญหาการจัดการสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติในชุมชน จากการใช้ผลการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม(EIA) ประกอบการอนุญาตฯนิคมอุตสาหกรรมลำพูน โดยกลุ่มที่
โครงการ บูรณาการความร่วมมือภาคีเครือข่าย สร้างเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้ เพื่อผู้สูงอายุสุขภาพดี “80 ปี ยังแจ๋ว”
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
บทสรุปจากการประชุม เครือข่ายระบบสารสนเทศน้ำจังหวัด
Planing : ระบบการวางแผนงบประมาณ
ยุทธศาสตร์พัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ ผลงาน ปี 2551 แผนงาน ปี 2552 ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก 2 กันยายน 2551.
การวางแผนและการเขียนโครงการวิจัย
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการวิจัย เรื่อง การศึกษาการบริหารจัดการขยะและเทคโนโลยีที่เหมาะสมโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน

กลุ่ม 1 นางชนิดา เพชรทองคำ ประธาน นายชัชวาล กีรติวรสกุล รองประธาน กลุ่ม 1 นางชนิดา เพชรทองคำ ประธาน นายชัชวาล กีรติวรสกุล รองประธาน นายสิริเลิศ สรฉัตร รองประธาน นายยุทธนา เสถียรฐิติพงศ์ เลขานุการ นายอนันตรักษ์ สลีสองสม เลขานุการ นางธีรวรรณ วิเชียรสรรค์ ผู้นำเสนอ นายกษิดิ์เดช สิบศิริ ผู้นำเสนอ และสมาชิกกลุ่ม 36 ท่าน

วิทยากรประจำกลุ่ม กิตติ คัมภีระ กิตติ คัมภีระ ที่ปรึกษาการบริหารงานวิจัยของศูนย์วิจัยและฝึกอบรมฯ ดร.อัจฉรา อัศวรุจิกุลชัย มหาวิทยาลัยมหิดล รัฐ เรืองโชติวิทย์ นักวิชาการสิ่งแวดล้อมชำนาญการพิเศษ ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมด้านสิ่งแวดล้อม นัยนา กล่อมเชื้อ นักวิชาการสิ่งแวดล้อม ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมด้านสิ่งแวดล้อม

1. ความสำคัญของการจัดทำโครงการวิจัย 1. ความสำคัญของการจัดทำโครงการวิจัย ปัจจุบันในพื้นที่ที่มีการขยายตัวของชุมชนมีจำนวนประชากรเพิ่มมากขึ้น ทำให้ปริมาณขยะมูลฝอยเพิ่มขึ้นเป็นเงาตามตัว ส่งผลกระทบต่อสภาพสิ่งแวดล้อม สุขภาพอนามัย การอยู่อาศัยของคนในชุมชน เพิ่มภาระงบประมาณในการกำจัดขยะ ทำให้เกิดประเด็นในการศึกษา เพื่อศึกษาการบริหารจัดการขยะมูลฝอย การใช้เทคโนโลยี ของชุมชนต้นแบบ นำผลที่ได้จากการศึกษา แลกเปลี่ยน เรียนรู้มาใช้ประโยชน์เป็นต้นแบบการบริหารจัดการขยะมูลฝอยโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนในพื้นที่อื่นๆ

2.วัตถุประสงค์ 2.1 เพื่อการศึกษารูปแบบการบริหารจัดการขยะชุมชนที่เหมาะสม 2.2 เพื่อพัฒนาการบริหารจัดการขยะชุมชนที่เหมาะสม 2.3 เพื่อศึกษาการเลือกใช้เทคโนโลยีในการจัดการขยะที่เหมาะสมกับชุมชน 2.4 เพื่อปลุกจิตสำนึกของการมีส่วนร่วมในการจัดการขยะชุมชน

3. ขอบเขตการศึกษาวิจัย (ประเด็นการศึกษา,พื้นที่ศึกษา,กลุ่มตัวอย่าง) รูปแบบและวิธีการจัดการขยะ พื้นที่ที่จะศึกษา อบต.ไร่ส้ม อ.เมือง จ.เพชรบุรี กลุ่มตัวอย่าง ชุมชนอบต.ไร่ส้ม อ.เมือง จ.เพชรบุรี

4. วิธีดำเนินการและสถานที่ทำการวิจัยหรือเก็บข้อมูล 4.1 วางแผนการวิจัย 4.2 การศึกษาเอกสาร หลักการ ทฤษฎี ศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 4.3 การเขียนนิยามปฏิบัติการ 4.4 ลงพื้นที่เพื่อศึกษารูปแบบการบริหารจัดการขยะ 3 พื้นที่ 4.5 ถอดความรู้และสร้างรูปแบบการบริหารจัดการขยะที่เหมาะสม 4.6 ดำเนินการใช้รูปแบบ - ประชุมปฏิบัติการการใช้รูปแบบ - ปฏิบัติการภาคสนาม 4.7 ประชุมวิเคราะห์และสรุป 4.8 การเขียนรายงานและเผยแพร่

5. แผนการดำเนินการ กิจกรรม/แผนงาน ช่วงเวลา ผู้รับผิดชอบ งบประมาณ 1.วางแผนการวิจัย 2.การศึกษาเอกสาร หลักการ ทฤษฎี ศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 3.การเขียนนิยามปฏิบัติการ 4.ลงพื้นที่เพื่อศึกษารูปแบบการบริหารจัดการขยะ 3 พื้นที่ 5.ถอดความรู้และสร้างรูปแบบการบริหารจัดการขยะที่เหมาะสม 6.ดำเนินการใช้รูปแบบ 7.ประชุมวิเคราะห์และสรุป 8.การเขียนรายงานและเผยแพร่

6. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ได้รูปแบบการบริหารจัดการขยะชุมชนที่เหมาะสมในบริบทของที่มีการบริหารจัดการ ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม เน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน และสามารถดำเนินการพัฒนาปรับปรุงให้มีความเข้มแข็งเพิ่มขึ้น โดยใช้กิจกรรมการสร้างจิตสำนึกและจิตอาสาให้ต่อเนื่องและยั่งยืน นอกจากนี้ชุมชนยังสามารถบริหารจัดการขยะชุมชนที่เหมาะสมรวมทั้งมีการเลือกใช้เทคโนโลยีในการจัดการขยะที่เหมาะสมกับชุมชน

ทำอย่างไรให้ประชาชนสุขภาพดีพึ่งตนเองได้

บันได 3 ขั้น ตามแนวทางพระราชดำรัส สู่การทำงานสร้างเสริมชุมชนให้เข้มแข็ง เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา เข้าใจท้องถิ่น เข้าใจพันธมิตรร่วมงาน เข้าใจปัญหาสุขภาพ ประโยชน์ที่ชุมชนจะ ได้รับ การประเมินสถานการณ์สุขภาพร่วมกัน การกำหนดแนวทางการพัฒนาและกลุ่ม เป้าหมาย การวางแผนพัฒนาขีดความสามารถและ ความรู้ของบุคลากร การประสานงบประมาณและการ ดำเนินงานร่วมกัน การพัฒนาคน การพัฒนาเครือข่าย การพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพ การประเมินผล/การ ขยายผล