โครงการวิจัย เรื่อง การศึกษาการบริหารจัดการขยะและเทคโนโลยีที่เหมาะสมโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน
กลุ่ม 1 นางชนิดา เพชรทองคำ ประธาน นายชัชวาล กีรติวรสกุล รองประธาน กลุ่ม 1 นางชนิดา เพชรทองคำ ประธาน นายชัชวาล กีรติวรสกุล รองประธาน นายสิริเลิศ สรฉัตร รองประธาน นายยุทธนา เสถียรฐิติพงศ์ เลขานุการ นายอนันตรักษ์ สลีสองสม เลขานุการ นางธีรวรรณ วิเชียรสรรค์ ผู้นำเสนอ นายกษิดิ์เดช สิบศิริ ผู้นำเสนอ และสมาชิกกลุ่ม 36 ท่าน
วิทยากรประจำกลุ่ม กิตติ คัมภีระ กิตติ คัมภีระ ที่ปรึกษาการบริหารงานวิจัยของศูนย์วิจัยและฝึกอบรมฯ ดร.อัจฉรา อัศวรุจิกุลชัย มหาวิทยาลัยมหิดล รัฐ เรืองโชติวิทย์ นักวิชาการสิ่งแวดล้อมชำนาญการพิเศษ ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมด้านสิ่งแวดล้อม นัยนา กล่อมเชื้อ นักวิชาการสิ่งแวดล้อม ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมด้านสิ่งแวดล้อม
1. ความสำคัญของการจัดทำโครงการวิจัย 1. ความสำคัญของการจัดทำโครงการวิจัย ปัจจุบันในพื้นที่ที่มีการขยายตัวของชุมชนมีจำนวนประชากรเพิ่มมากขึ้น ทำให้ปริมาณขยะมูลฝอยเพิ่มขึ้นเป็นเงาตามตัว ส่งผลกระทบต่อสภาพสิ่งแวดล้อม สุขภาพอนามัย การอยู่อาศัยของคนในชุมชน เพิ่มภาระงบประมาณในการกำจัดขยะ ทำให้เกิดประเด็นในการศึกษา เพื่อศึกษาการบริหารจัดการขยะมูลฝอย การใช้เทคโนโลยี ของชุมชนต้นแบบ นำผลที่ได้จากการศึกษา แลกเปลี่ยน เรียนรู้มาใช้ประโยชน์เป็นต้นแบบการบริหารจัดการขยะมูลฝอยโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนในพื้นที่อื่นๆ
2.วัตถุประสงค์ 2.1 เพื่อการศึกษารูปแบบการบริหารจัดการขยะชุมชนที่เหมาะสม 2.2 เพื่อพัฒนาการบริหารจัดการขยะชุมชนที่เหมาะสม 2.3 เพื่อศึกษาการเลือกใช้เทคโนโลยีในการจัดการขยะที่เหมาะสมกับชุมชน 2.4 เพื่อปลุกจิตสำนึกของการมีส่วนร่วมในการจัดการขยะชุมชน
3. ขอบเขตการศึกษาวิจัย (ประเด็นการศึกษา,พื้นที่ศึกษา,กลุ่มตัวอย่าง) รูปแบบและวิธีการจัดการขยะ พื้นที่ที่จะศึกษา อบต.ไร่ส้ม อ.เมือง จ.เพชรบุรี กลุ่มตัวอย่าง ชุมชนอบต.ไร่ส้ม อ.เมือง จ.เพชรบุรี
4. วิธีดำเนินการและสถานที่ทำการวิจัยหรือเก็บข้อมูล 4.1 วางแผนการวิจัย 4.2 การศึกษาเอกสาร หลักการ ทฤษฎี ศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 4.3 การเขียนนิยามปฏิบัติการ 4.4 ลงพื้นที่เพื่อศึกษารูปแบบการบริหารจัดการขยะ 3 พื้นที่ 4.5 ถอดความรู้และสร้างรูปแบบการบริหารจัดการขยะที่เหมาะสม 4.6 ดำเนินการใช้รูปแบบ - ประชุมปฏิบัติการการใช้รูปแบบ - ปฏิบัติการภาคสนาม 4.7 ประชุมวิเคราะห์และสรุป 4.8 การเขียนรายงานและเผยแพร่
5. แผนการดำเนินการ กิจกรรม/แผนงาน ช่วงเวลา ผู้รับผิดชอบ งบประมาณ 1.วางแผนการวิจัย 2.การศึกษาเอกสาร หลักการ ทฤษฎี ศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 3.การเขียนนิยามปฏิบัติการ 4.ลงพื้นที่เพื่อศึกษารูปแบบการบริหารจัดการขยะ 3 พื้นที่ 5.ถอดความรู้และสร้างรูปแบบการบริหารจัดการขยะที่เหมาะสม 6.ดำเนินการใช้รูปแบบ 7.ประชุมวิเคราะห์และสรุป 8.การเขียนรายงานและเผยแพร่
6. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ได้รูปแบบการบริหารจัดการขยะชุมชนที่เหมาะสมในบริบทของที่มีการบริหารจัดการ ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม เน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน และสามารถดำเนินการพัฒนาปรับปรุงให้มีความเข้มแข็งเพิ่มขึ้น โดยใช้กิจกรรมการสร้างจิตสำนึกและจิตอาสาให้ต่อเนื่องและยั่งยืน นอกจากนี้ชุมชนยังสามารถบริหารจัดการขยะชุมชนที่เหมาะสมรวมทั้งมีการเลือกใช้เทคโนโลยีในการจัดการขยะที่เหมาะสมกับชุมชน
ทำอย่างไรให้ประชาชนสุขภาพดีพึ่งตนเองได้
บันได 3 ขั้น ตามแนวทางพระราชดำรัส สู่การทำงานสร้างเสริมชุมชนให้เข้มแข็ง เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา เข้าใจท้องถิ่น เข้าใจพันธมิตรร่วมงาน เข้าใจปัญหาสุขภาพ ประโยชน์ที่ชุมชนจะ ได้รับ การประเมินสถานการณ์สุขภาพร่วมกัน การกำหนดแนวทางการพัฒนาและกลุ่ม เป้าหมาย การวางแผนพัฒนาขีดความสามารถและ ความรู้ของบุคลากร การประสานงบประมาณและการ ดำเนินงานร่วมกัน การพัฒนาคน การพัฒนาเครือข่าย การพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพ การประเมินผล/การ ขยายผล