การคำนวณภาษีสรรพสามิต

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 บทบาทของรัฐบาลในตลาดแรงงาน
Advertisements

ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา Personal Income Tax
ตัวอย่างการประยุกต์ตัวแบบ IC
บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
การขายผ่อนชำระและการเช่าซื้อ
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
รับชำระเงิน/ออกใบอนุญาต
“e-Revenue” “ภาษี”เรื่องง่าย ๆ.
Chapter 3 การกำหนดราคามุ่งที่ต้นทุน
ภาษีธุรกิจเฉพาะ.
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of Demand)
Topic 11 เงินเฟ้อ เงินฝืด การว่างงาน
ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium)
สื่อประกอบการเรียนการสอน
Accounting In Action Credit Card
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการค้าระหว่างประเทศ
ภาษีมูลค่าเพิ่ม 1. คำนิยาม ขาย สินค้า การบริการ ใบกำกับภาษี ภาษีขาย ภาษีซื้อ 2. ผู้มีหน้าที่เสียภาษี 3. การยกเว้น.
กฎหมายภาษีอากรตามประมวลรัษฎากรในส่วนที่เกี่ยวกับ “สหกรณ์”
ภาษีพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
เงินรายได้แผ่นดิน.
โครงสร้างต้นทุนการผลิตและราคาขาย ณ โรงงานสุรา (สุรากลั่นชุมชน)
เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีสุรา
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบภาษีสรรพสามิต
การตรวจสอบภาษีน้ำมันและผลิตภัณฑ์น้ำมัน
FTA และผลกระทบต่อภาษีสรรพสามิต
การจัดเก็บภาษีรถจักรยานยนต์
ความรู้เบื้องต้นเรื่องภาษี ( TAX)
การจัดเก็บภาษีสถานบริการ ประเภทอาบน้ำหรืออบตัว และนวด
ก. จำนวนครั้งที่สั่งซื้อสบู่ ข. ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อต่อเดือน
นางสาวปุษยาภรณ์ ผลไพบูลย์ นักวิชาการตรวจสอบภายในชำนาญการ ผู้บรรยาย
BUSINESS TAXATION ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
ภาษีเงินได้นิติบุคคล
ตัวชี้วัดที่ ๖ ตัวชี้วัดที่ ๖ ร้อยละความสำเร็จของการ เบิกจ่ายเงินงบประมาณ น้ำหนัก ร้อยละ ๕ มิติภายใน.
ประเด็นการประเมิน : คุณภาพการให้บริการ ตัวชี้วัด : 3
G Garbage.
คำสั่งลำลอง.
การตรวจสอบการบริหารงานพัสดุ
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศการท่าเรือแห่งประเทศไทย เรื่อง การเรียกเก็บค่าธรรมเนียมพิเศษการใช้ น้ำมันเชื้อเพลิง ของการให้บริการตู้สินค้า.
บทที่ 4 การพยากรณ์ทางการเงิน การวางแผนทางการเงิน และงบประมาณ (Financial Forecasting Planning and Budgeting) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต.
บทที่ 12 นโยบายเงินปันผล ( Dividend Policy )
สรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3
แนวทางการวางแผนภาษีธุรกิจเฉพาะ Specific Business Tax Planning
สิ่งที่ต้องเตรียมในการติดต่อชำระภาษี เอกสารที่ใช้ในการติดต่อ
การบัญชีเกี่ยวกับตั๋วขาดความเชื่อถือ
ลักษณะสำคัญของการซื้อขายล่วงหน้า
โครงการ การพัฒนาศักยภาพ บุคลากรด้านการปราบปราม
ข้อควรระมัดระวัง และเพิ่มเติม
การออกแบบโครงสร้างการทำบัญชีโดยการประยุกต์ใช้โปรแกรม EXCEL
คิดโครงการ(Project) ที่คิดจะทำตอนจบปี 4 การออกแบบระบบร้านขายหนังสือ
ข้อเปรียบเทียบ สำหรับข้าราชการ การกลับไปใช้สิทธิในบำเหน็จบำนาญ
ระบบการเรียกเก็บหนี้
ผู้จัดทำ 1.นางสาวสุพรรษา ภูพวก เลขที่19 ม.4/4
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
วิชาการบัญชีสินค้าและระบบบัญชีเดี่ยว
สรุปผลการจัดตั้งตลาดเกษตรกร ของสหกรณ์การเกษตรสบปราบ จำกัด จังหวัดลำปาง
สนามกอล์ฟ.
ทฤษฎีนีโอคลาสสิค.
บทที่ 2 รายได้ประชาชาติ
วิชาระบบบัญชีเดี่ยวและสินค้า
โปรแกรมการจัดการระบบการเงิน ในร้านโชห่วย
การถอนเงินคืนรายรับ ถอนคืนเงินรายรับ ได้ในกรณีดังต่อไปนี้
Creative Accounting
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศการท่าเรือแห่งประเทศไทย เรื่อง การเรียกเก็บค่าธรรมเนียม พิเศษการใช้น้ำมันเชื้อเพลิง ของการให้บริการเรือลากจูง.
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
คำรับรองการปฏิบัติราชการ สำนักงานสหกรณ์จังหวัด อ่างทอง ประจำปี งบประมาณ พ. ศ.2554.
บทที่ 1 หลักการและโครงสร้างของภาษีอากร
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศการท่าเรือแห่งประเทศไทย เรื่อง การเรียกเก็บค่าธรรมเนียม พิเศษการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงของ การให้บริการตู้สินค้า.
บทที่ 5 ภาวะการเงิน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การคำนวณภาษีสรรพสามิต สำนักงานสรรพสามิตพื้นที่ชลบุรี 2 ฝ่ายบริหารการจัดเก็บภาษี

การคำนวณภาษีสรรพสามิต กฎหมายได้กำหนดอัตราภาษีไว้ 2 อัตรา คือ 1. อัตราภาษีตามปริมาณ เป็นอัตราภาษีที่จัดเก็บตามปริมาณของสินค้าโดยคิดจากหน่วยสินค้าเป็นน้ำหนัก เป็นปริมาตร 2. อัตราภาษีตามมูลค่า เป็นอัตราภาษีที่จัดเก็บคิดเป็นร้อยละ ของราคาสินค้าที่เป็นมูลค่า เมื่อมีกำหนดอัตราภาษีไว้ทั้ง 2 อย่าง การจัดเก็บภาษีต้องคำนวณค่าภาษีจากอัตราภาษีตามมูลค่า และอัตราภาษีตามปริมาณเปรียบเทียบกัน หากอัตราใดที่คิดเป็นเงินสูงกว่าก็ให้ใช้อัตรานั้นเป็นอัตราที่ใช้จัดเก็บภาษี

คิดภาษีสรรพสามิตจากฐานใด ตามมาตรา 7 แห่ง พ.ร.บ.ภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2527 ให้ผู้ประกอบอุตสาหกรรม ผู้ประกอบกิจการสถานบริการ ผู้นำเข้าสินค้า หรือผู้ที่พระราชบัญญัตินี้กำหนดให้เป็นผู้มีหน้าที่เสียภาษี เสียภาษีตามมูลค่า หรือตามปริมาณของสินค้าหรือบริการนั้น ตามอัตราที่ระบุไว้ในกฎหมายว่าด้วยพิกัดอัตราภาษีสรรพสามิตที่ใช้อยู่ในเวลาที่ความรับผิดในอันจะต้องเสียภาษีเกิดขึ้น กรณีอัตราภาษีตามปริมาณ ภาษีสรรพสามิต = ปริมาณสินค้า × อัตราภาษีสรรพสามิต กรณีอัตราภาษีตามมูลค่า ภาษีสรรพสามิต = มูลค่า × อัตราภาษีสรรพสามิต

การคำนวณภาษีสรรพสามิตอัตราภาษีตามปริมาณ สินค้าที่เสียภาษีอัตราภาษีตามปริมาณนั้นให้ใช้จำนวนหน่วยซึ่งได้แก่ จำนวนบรรจุภาชนะมีปริมาตรเป็น ลบ.ซม. จำนวนลิตร จำนวนกิโลกรัม ของสินค้าแล้วนำมาคูณด้วยอัตราภาษีตามปริมาณ(ต่อหน่วย) ผลลัพธ์ที่ได้คือจำนวนภาษีสรรพสามิตที่ผู้ประกอบการต้องเสียเสียภาษีสำหรับสินค้าที่คิดตามอัตราภาษีตามปริมาณ ตัวอย่าง การคำนวณภาษีสรรพสามิตน้ำมันเบนซิน อัตราภาษีตามปริมาณ = 5.600 บาท/ลิตร จำนวน 10,000 ลิตร เป็นเงินภาษีสรรพสามิตเท่าใด ภาษีสรรพสามิต = ปริมาณสินค้า × อัตราภาษีสรรพสามิต ภาษีสรรพสามิต = 10,000 × 5.600 = 56,000 บาท

การคำนวณภาษีสรรพสามิตอัตราภาษีตามมูลค่า ราคาสินค้าที่เป็นมูลค่าที่นำมาเป็นเกณฑ์ในการคำนวณภาษีตามอัตรามูลค่านั้นมีอยู่ 2 แบบคือ 1. มูลค่าสินค้าแบบรวมใน คือในราคาสินค้าหรือบริการที่ได้ทำการซื้อขายที่เป็นฐานในการคำนวณภาษีที่เป็นมูลค่าได้รวมภาษีสรรพสามิตอยู่ในราคานั้นแล้ว 2. มูลค่าสินค้าแบบแยกนอก คือในราคาสินค้าหรือบริการที่ทำการซื้อขายที่เป็นฐานในการคำนวณภาษีที่เป็นมูลค่ายังไม่ได้มีการรวมค่าภาษีอยู่ในราคาสินค้าหรือบริการที่ทำการซื้อขายแต่อย่างใด ฉะนั้นมูลค่าสินค้าที่ใช้เป็นฐานในการจัดเก็บภาษีเป็นมูลค่าสินค้าหรือบริการที่รวมค่าภาษีแบบรวมในคือได้นำเอาภาษีสรรพสามิต และภาษีเก็บเพื่อมหาดไทย ที่จะต้องเสียไปรวมไว้ในราคาสินค้าหรือบริการที่ทำการซื้อขายก่อนแล้วจึงจะนำมาคำนวณหาภาษีสรรพสามิต

ภาษีสรรพสามิตที่พึงต้องชำระ ∴ ภาษีสรรพสามิตและภาษีเก็บเพิ่มเพื่อมหาดไทยจะเป็นส่วนหนึ่งของราคาสินค้า เมื่อคำนวณภาษีสรรพสามิตแล้ว กฎหมายยังได้กำหนดให้ผู้ประกอบการต้องเสียภาษีเก็บเพิ่มเพื่อกระทรวงมหาดไทยด้วย ปกติร้อยละ 10 ของภาษีสรรพสามิต นำมาคูณกับจำนวนภาษีสรรพสามิตที่คำนวณได้ ก็จะเป็นภาษีเก็บเพิ่มเพื่อกระทรวงมหาดไทย แล้วนำมารวมกับภาษีสรรพสามิตที่คำนวณได้ ก็จะเป็นภาษีสรรพสามิตที่พึงต้องชำระทั้งสิ้นที่ผู้ประกอบการต้องจ่ายให้แก่กรมสรรพสามิต ภาษีสรรพสามิตที่พึงต้องชำระ ได้แก่ ภาษีสรรพสามิตและภาษีเก็บเพิ่มเพื่อมหาดไทย ไม่ว่าสินค้านั้นจะผลิตภายในประเทศหรือนำเข้ามาในราชอาณาจักร

ฐานภาษีกรณีอัตราภาษีตามมูลค่า ภาษีสรรพสามิต = มูลค่า × อัตราภาษีสรรพสามิต 1. กรณีสินค้าผลิตในราชอาณาจักร ตามมาตรา 8 (1) มูลค่า = ราคาขาย ณ โรงอุตสาหกรรม + ภาษีสรรพสามิต + ภาษีเพื่อมหาดไทย ดังนั้น ภาษีสรรพสามิต = (ราคาขาย ณ โรงอุตสาหกรรม+ ภาษีสรรพสามิต + ภาษีเพื่อมหาดไทย) × อัตราภาษีสรรพสามิต หรือสูตร ภาษีสรรพสามิต = ราคาขาย ณ โรงอุตสาหกรรม × อัตราภาษีสรรพสามิต 1−(1.1 × อัตราภาษีสรรพสามิต)

ฐานภาษีกรณีอัตราภาษีตามมูลค่า(ต่อ) 2. กรณีบริการ ตามมาตรา 8 (2) มูลค่า = รายรับของสถานบริการ + ภาษีสรรพสามิต + ภาษีเพื่อมหาดไทย หรือสูตร ภาษีสรรพสามิต = รายรับของสถานบริการ ×อัตราภาษีสรรพสามิต 𝟏−(𝟏.𝟏×อัตราภาษีสรรพสามิต)

ฐานภาษีกรณีอัตราภาษีตามมูลค่า(ต่อ) 3. กรณีสินค้านำเข้า ตามมาตรา 8 (3) มูลค่า = ราคา C.I.F ของสินค้า + ค่าธรรมเนียมพิเศษตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมการลงทุน + ภาษีและค่าธรรมเนียมอื่นตามที่จะได้กำหนดใน พ.ร.ฎ. แต่ไม่รวมถึง VAT + ภาษีสรรพสามิต + ภาษีเพื่อมหาดไทย ภาษีสรรพสามิต = (มูลค่าดังกล่าว) ×อัตราภาษีสรรพสามิต หรือสูตร ภาษีสรรพสามิต = (C.I.F. +อากรขาเข้า+ค่าธรรมเนียมอื่นไม่รวมVAT)×อัตราภาษีสรรพสมิต 1−(1.1 ×อัตราภาษีสรรพสามิต)

เมื่อใดใช้สูตรหรือไม่ใช้สูตรในการคำนวณภาษี เมื่อ มูลค่า คือราคาขายที่รวมภาษีสรรพสามิตและภาษีเพื่อมหาดไทยที่พึงต้องชำระ หรือกล่าวอีกนัยหนึ่ง มูลค่า ก็คือราคาที่รวมภาระภาษีสรรพสามิต และภาษีเพื่อมหาดไทยแล้ว ซึ่งจะเป็นราคาขายก่อนรวมภาษีมูลค่าเพิ่ม ฉะนั้น จึงคำนวณภาษีโดยไม่ต้องใช้สูตร คำนวณภาษีสรรพสามิตได้ดังนี้ ภาษีสรรพสามิต = มูลค่า × อัตราภาษีสรรพสามิต ตัวอย่าง สินค้าแบตเตอรี่ราคาลูกละ 1,200 บาท (รวมภาษีสรรพสามิตที่พึงต้องชำระและ VAT แล้ว) การหามูลค่าของสินค้าที่จะนำไปคำนวณภาษีสรรพสามิตต้องหักภาษีมูลค่าเพิ่มที่รวมในสินค้านั้นออกเสียก่อน ภาษีมูลค่าเพิ่ม = 𝟏,𝟐𝟎𝟎×𝟕 𝟏𝟎𝟕 = 78.50 บาท

การคำนวณภาษีโดยไม่ใช้สูตร ฐานราคาไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม = 1,200 - 78.50 บาท มูลค่า ที่ใช้ในการคำนวณภาษีสรรพสามิต = 1,121.50 บาท ภาษีสรรพสามิต = มูลค่า × อัตราภาษีสรรพสามิต = 1,121.50×𝟏𝟎% = 112.15 ภาษีเก็บเพิ่มเพื่อกระทรวงมหาดไทยอีกร้อยละ 10 = 112.15×𝟏𝟎% = 11.22 ภาษีสรรพสามิตและภาษีเก็บเพิ่มเพื่อมหาดไทยร้อยละ 10 = 112.15+11.22 = 123.37 บาท

การคำนวณภาษีโดยใช้สูตร ราคาขายนั้นยังไม่รวมภาษีสรรพสามิตที่พึงต้องชำระ คำนวณภาษีโดยวิธีใช้สูตร ตัวอย่าง สินค้าแบตเตอรี่ราคาลูกละ 1,250 บาท (ยังไม่รวมภาษีสรรพสามิตที่พึงต้องชำระและ VAT ) ภาษีสรรพสามิตที่พึงต้องชำระ = ภาษีสรรพสามิต + ภาษีเก็บเพิ่มเพื่อมหาดไทย10% สูตรการคำนวณ

การคำนวณภาษีโดยใช้สูตร ภาษีสรรพสามิต = 𝟏,𝟐𝟓𝟎×𝟏𝟎% 𝟏−(𝟏.𝟏×𝟏𝟎%) = 𝟏𝟐𝟓 𝟎.𝟖𝟗 = 140.44 บาท ภาษีเก็บเพิ่มเพื่อมหาดไทยอีกร้อยละ 10 = 140.44 ×𝟏𝟎% = 14.04 บาท ภาษีสรรพสามิตที่พึงต้องชำระ = 140.44 + 14.04 = 154.48 บาท ฉะนั้น ราคาสินค้าแบตเตอรี่ ซึ่งรวมภาษีสรรพสามิต เเละภาษีเก็บเพิ่มเพื่อมหาดไทยร้อยละ 10 แล้ว (มูลค่า) = 1,250+154.48 = 1,404.48

จบการนำเสนอ