Happy Newyear 2009 สวัสดีปีใหม่ 2552 แด่...ทุกท่าน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
Advertisements

แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. จังหวัดลพบุรี วิทยฐานะ เชี่ยวชาญ
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
การสร้างแรงจูงใจและพัฒนา อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
การดำเนินงานตำบลจัดการสุขภาพ ตำบลเขาซก อำเภอหนองใหญ่ ชลบุรี
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี พ.ศ.2557 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอร้องกวาง
แบบนำเสนอผลงานโครงการ
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
กิจกรรมประชุมพัฒนาการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคระดับจังหวัด ในเขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4,5 ( การปรับปรุงการบริหารจัดการที่สนับสนุนการ ขับเคลื่อนงานอำเภอ.
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
สรุปการประชุม เขต 10.
ภารกิจ อสม.งานประจำ/งานนโยบาย
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 นพ. นิทัศน์ รายยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
นโยบายด้านบริหาร.
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
ผลการดำเนินงาน แม่บ้านสาธารณสุข
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
วัตถุประสงค์ของ หน่วยงาน 1. ถ่ายทอดองค์ความรู้ และ แนวทางการดำเนินการ ป้องกัน ควบคุมโรค งานอนามัย สิ่งแวดล้อม และงาน อา ชีวอนามัย ที่ได้มาตรฐาน 2. ดำเนินการป้องกันควบคุมโรค.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
โครงการ บูรณาการความร่วมมือภาคีเครือข่าย สร้างเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้ เพื่อผู้สูงอายุสุขภาพดี “80 ปี ยังแจ๋ว”
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ชี้แจงหลักเกณฑ์การโอนเงิน ระเบียบการเบิก-จ่ายงบประมาณ
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Happy Newyear 2009 สวัสดีปีใหม่ 2552 แด่...ทุกท่าน ขอส่งความสุข ขอให้ทุกๆท่าน มีความสุขกับการทำงาน มีความเจริญในหน้าที่ มีความสมหวังในทุกสิ่ง ตลอดปี 2552 เทอญ จากใจ พวกเราชาวศูนย์ สช.ภาคใต้

ยินดีต้อนรับทุกท่าน ศูนย์ฝึกอบรมและพัฒนาสุขภาพภาคประชาชน ภาคใต้ นครศรีธรรมราช

ให้เกิดการจัดการระบบสุขภาพชุมชน ที่พอเพียงและพึ่งตนเองได้ วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรชั้นนำในการเสริมสร้าง ให้เกิดการจัดการระบบสุขภาพชุมชน ที่พอเพียงและพึ่งตนเองได้ เพื่อประชาชนมีสุขภาพดี

สาธารณสุขมูลฐานเพื่อนำไปสู่การพึ่งตนเอง ด้านสุขภาพของประชาชน พันธกิจ ส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาการมีส่วนร่วม ของ อสม.และภาคีเครือข่ายสุขภาพตามหลัก สาธารณสุขมูลฐานเพื่อนำไปสู่การพึ่งตนเอง ด้านสุขภาพของประชาชน

บทบาทหน้าที่ วิจัยและพัฒนารูปแบบการดำเนินงานสาธารณสุข มูลฐานเพื่อพัฒนาระบบสุขภาพภาคประชาชน ส่งเสริม และสนับสนุนภาคีเครือข่ายสุขภาพในการ ดำเนินงานสาธารณสุขมูลฐาน ส่งเสริม และพัฒนาอาสาสมัครสาธารณสุข องค์กรเอกชนในการพิทักษ์สิทธิ์ ของประชาชน ด้านสุขภาพเพื่อการมีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคม ปฏิบัติงานร่วมกับหน่วยงานอื่นๆที่เกี่ยวข้อง หรือได้รับมอบหมาย

โครงสร้างองค์กร ศูนย์ฝึกอบรมและพัฒนาสุขภาพภาคประชาชนภาคใต้ ผู้อำนวยการ กลุ่ม สนับสนุนบริการและการจัดการทั่วไป กลุ่มยุทธศาสตร์และพัฒนาระบบมาตรฐานงาน กลุ่ม พัฒนา อสม. กลุ่ม เสริมสร้างภาคีเครือข่าย

การดำเนินงาน ปี 2551

เป้าหมายหมู่บ้านจัดการร้อยละ 60 วิจัย กองทุนสุขภาพตำบล Model ตำบลจัดการ ด้านสุขภาพ เครือข่าย ระดับจังหวัด ระดับตำบล ถ่ายทอด ความรู้ หลักสูตรการอบรม วารสาร/คู่มือ/เอกสาร Web site สาธารณสุขมูลฐาน (สุขภาพภาคประชาชน ) ผลผลิต เป้าหมายหมู่บ้านจัดการร้อยละ 60

กระบวนการขับเคลื่อนงานสุขภาพภาคประชาชน 2551 จังหวัด ศูนย์ ประชุมเชิงปฏิบัติการเครือข่ายจังหวัดและตำบล สนับสนุนงบประมาณ สนับวิชาการ ร่วมเป็นทีมวิจัยกับพื้นที่ สนับสนุนเครื่องมือ สนับสนุนสื่อ (วารสาร) ร่วมเวทีเครือข่ายสุขภาพสัญจร คัดเลือก อสม.ดีเด่นเขต/ภาค ร่วมกิจกรรมวัน อสม.แห่งชาติ ร่วมพัฒนาตำบลต้นแบบ ร่วมพัฒนาเครือข่ายชมรม อสม. ร่วมพัฒนาเครือข่าย อบต. ร่วมตรวจราชการและนิเทศงาน สนับสนุนสมาคม อสม.ชาวใต้ เตรียมพื้นที่ศึกษาวิจัย เตรียมพื้นที่พัฒนาตำบลจัดการ สุขภาพ ( ตำบลประธาน อสม.จังหวัด พัฒนาครูฝึก อสม.สำหรับเจ้าหน้าที่ พัฒนาศักยภาพ อสม. ( แกนนำ อสม.ใหม่/ฟื้นฟู ) เสริมสร้างแรงจูงใจ อสม. ( คักเลือก อสม.ดีเด่น วันอสม.แห่งชาติ ) 30 ปีสาธารณสุขมูลฐาน เวทีเครือข่ายสุขภาพสัญจรในพื้นที่ เวทีถอดบทเรียน หมู่บ้านจัดการร้อยละ 60

การสนับสนุนงบประมาณในระหว่าง ตค.50 - มีค. 2551 งบวิจัย สนับสนุนตำบลเป้าหมาย จังหวัดละ 1 ตำบล 10,000 บาท งบประมาณในการคัดเลือก อสม.ดีเด่น (10,000บาท) และรณรงค์วัน อสม.แห่งชาติ(10,000 บาท) รวมจังหวัดละ 20,000 บาท งบประมาณสนับสนุนการพัฒนาตำบลจัดการสุขภาพ จังหวัดละ 1 ตำบล 10,000 บาท งบเฝ้าระวังไข้หวัดนกและโรคที่เป็นภัยคุกคามต่อสุขภาพ ในชุมชน ไข้เลือดออกในจังหวัดที่ระบาด ( จ. กระบี่ )

2-4 มิถุนายน 2551 การสนับสนุนงบประมาณ ในการเฝ้าระวังโรคในชุมชน ลำดับ จังหวัด ตำบล จัดการสุขภาพ พัฒนาศักยภาพ อสม. ในการเฝ้าระวังโรคในชุมชน รวม 1 ระนอง 10,000 40,000 50,000 2 ชุมพร 60,000 70,000 3 สุราษฏร์ธานี 90,000 100,000 4 นครศรีธรรมราช 5 พัทลุง 80,000 6 ตรัง 7 กระบี่ 490,000 500,000 8 พังงา 9 ภูเก็ต 1,010,000 1,100,000

แนวทางการดำเนินงาน สุขภาพภาคประชาชน ปี 2552

นโยบายกระทรวงสาธารณสุข กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ เบนเข็มการพัฒนางานสาธารณสุขมูลฐานจากรูปแบบที่ เน้นการให้บริการ ไปเน้นที่การพัฒนาเพื่อให้ชุมชนยืน ได้ด้วยตัวเอง อันหมายถึงการสร้างสุขภาพโดยประชาชน แทนการซ่อมสุขภาพด้วยบริการ 2. ส่งเสริมให้หน่วยงานทุกระดับในกระทรวงสาธารณสุข สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ ที่สามารถสนับสนุนการดำเนินงานพัฒนาสุขภาพของประชาชนในระดับท้องถิ่น หรือ ชุมชนได้ตามความเหมาะสม กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

นโยบายกระทรวงสาธารณสุข กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ 3. ให้ปรับปรุงและเชื่อมโยงตัวชี้วัดที่กำหนดโดยส่วนกลาง กับตัวชี้วัดที่กำหนดโดยแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ในระดับ ต่างๆให้สอดคล้องกัน 4. ใช้ตัวชี้วัดของแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ที่ปรับให้สอดคล้อง กับตัวชี้วัดของ กพร. เป็นเครื่องมือในการติดตาม กำกับ ดูแล ของสำนักตรวจราชการ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ นโยบายกระทรวงสาธารณสุข 5. ส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาความสามารถของท้องถิ่น ชุมชนและกองทุนระบบประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือ พื้นที่ให้สามารถดำเนินการจัดการระบบสุขภาพชุมชนได้ ด้วยการสร้างนวัตกรรรมทางกระบวนการจัดการสุขภาพและ การเพิ่มทักษะการใช้แผนที่ยุทธศาสตร์ 6. ส่งเสริมการสร้างและจัดการนวัตกรรมในทุกระดับ หลากหลายรูปแบบ ทั้งนวัตกรรมบริหารจัดการ นวัตกรรม กระบวนการและรูปแบบบริการที่ส่งผลให้ชุมชนเข้มแข็ง และพึ่งตนเองได้ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ แนวทางในการทำงานปี 2552 เสริมสร้างศักยภาพ อสม./ชุมชนในการป้องกัน และเตรียมความพร้อมรองรับการระบาดของ โรคไข้หวัดนก/ไข้หวัดใหญ่ อบรมฟื้นฟู อสม. พัฒนาศักยภาพ อสม. หมู่บ้านจัดการสุขภาพ ตำบลจัดการสุขภาพ ( ภาคีเครือข่าย ) สนับสนุนการสร้างและใช้แผนที่ทางเดิน ยุทธศาสตร์ให้กับสำนักงานสาธารณสุขอำเภอ และกองทุนสุขภาพตำบล สนับสนุน อสม.ให้ได้รับค่าตอบแทน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ งบประมาณสนับสนุน 1. คัดเลือก อสม.ในระดับจังหวัด ๆ ละ 10,000 บาท 2. รณรงค์การจัดงานวัน อสม.จังหวัด ๆ ละ 10,000 บาท 3. สนับสนุนเครือข่ายตำบลจัดการสุขภาพ จังหวัดละ 2 ตำบล ๆ ละ 10,000 บาท 4. อบรมพัฒนาศักยภาพ อสม. หมู่บ้านละ 2 คนๆละ 230 บาท จำนวน 2 วัน 5. ซ้อมแผนป้องกันไข้หวัดนกทุกอำเภอ อำเภอละ 5,000 บาท 6. สนับสนุนงบประมาณพื้นที่ที่มีสัตว์ปีกป่วยหรือตาย ทุกตำบลในอำเภอนั้น กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

การสนับสนุนด้านวิชาการ 1. ประชุมการจัดทำแผนปฏิบัติการ 2. อบรมหลักสูตรนักจัดการสุขภาพ / การสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ 3. การนิเทศติดตามร่วมกับสำนักตรวจฯ 4. เวทีสรุปบทเรียนแลกเปลี่ยนประสบการณ์ 5. การประชุมสรุปผลและประเมินผลการดำเนินงาน 6. การศึกษาวิจัยในบางพื้นที่ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

การสนับสนุนด้านสื่อวัสดุอุปกรณ์/สื่อ วารสารสุขภาพภาคประชาชน แนวทางการดำเนินการหมู่บ้านจัดการสุขภาพ โปรแกรมการประเมินหมู่บ้านจัดการสุขภาพ แนวทางการคัดเลือก อสม.ดีเด่นปี 2552 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

การสนับสนุนด้านการศึกษา การสนับสนุนให้ อสม. และบุตร ธิดา ของ อสม. ได้รับโควตาเข้าศึกษาต่อในสถาบัน สังกัดกระทรวงสาธารณสุข ในปี 2552 กระทรวงสาธารณสุข จัดสรร โควตาจำนวน 375 โควตา กรมสบส.เสนอ หลักเกณฑ์การให้คะแนนสำหรับบุตรอสม. ดีเด่น กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

การสร้างขวัญกำลังใจให้แก่ อสม. ที่ดำเนินการอยู่ในปัจจุบัน 1 การเสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ในระดับที่สูงขึ้น การเพิ่มสวัสดิการด้านการักษาพยาบาลสำหรับอสม. ที่ทำงาน มากกว่า 10 ปีขึ้นไป ได้รับส่วนลดค่าห้องพิเศษและค่าอาหารพิเศษ ครึ่งหนึ่ง การจัดสรรโควต้าการศึกษาแก่อสม.และบุตรให้ศึกษาในหลักสูตร ของกระทรวงสาธารณสุข การเทียบตำแหน่งอสม. ให้สามารถเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายไปราชการ เท่ากับข้าราชการระดับ 3 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

การสร้างขวัญกำลังใจให้แก่ อสม. ที่ดำเนินการอยู่ในปัจจุบัน (ต่อ) 1 การเทียบโอนประสบการณ์ในการทำงานในตำแหน่ง อสม. ให้เป็นผลการเรียนในระบบการศึกษานอกโรงเรียน กำหนดระเบียบให้อสม.สามารถเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการออกปฏิบัติงาน ในภาวะฉุกเฉินได้วันละ 100 บาท ขอลดหย่อนอัตราค่าโดยสารรถไฟให้กับ อสม.ในช่วงเดือน มิ.ย.- ก.ย. ของทุกปี จัดประกวดและให้รางวัลแก่อสม. ที่มีผลงานดีเด่นในระดับต่าง ๆ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

การสร้างขวัญกำลังใจให้แก่ อสม. 2 ในปี 2552 กำลังดำเนินการเพิ่มเติม การคัดเลือก อสม.ดีเด่น 11 สาขา (เพิ่มสาขาอนามัยแม่และเด็ก) การให้โควตาการศึกษาแก่ อสม.และบุตร จำนวน 375 โควตา ( อสม.ดีเด่น ) การเสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ในระดับที่สูงขึ้น การพัฒนากฎระเบียบเพื่อรองรับสถานะ และคุ้มครองการปฏิบัติงานของอสม. จัดค่าตอบแทนในการปฏิบัติงานให้กับ อสม. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

การคัดเลือกอสม.ดีเด่นประจำปี 2552 จำนวน 11 สาขา ได้แก่ (1) สาขาการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ (2) สาขาสุขภาพจิตในชุมชน (3) สาขายาเสพติดในชุมชน (4) สาขาการบริการใน ศสมช. (5) สาขาการคุ้มครองผู้บริโภค (6) สาขาการแพทย์แผนไทยและภูมิปัญญาท้องถิ่น ด้านสุขภาพ (7) สาขาเอดส์ในชุมชน (8) สาขาการส่งเสริมสุขภาพ (9) สาขาการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ (10) สาขาการจัดการสุขภาพชุมชน (11) สาขาอนามัยแม่และเด็ก กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ การเสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์ ชั้นเหรียญเงินให้แก่ อสม.ดีเด่นระดับ ชั้นเหรียญทองให้แก่ อสม.ดีเด่นระดับดีเยี่ยม ปี 2552 (16 คน) ภาคใต้ 2 คน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตำบลจัดการสุขภาพ ปี 2552 มีเป้าหมายตำบลจัดการสุขภาพ 2 ตำบล/จังหวัด รวม 18 ตำบล งบประมาณ 10,000 บาท/ตำบล แนวทางการดำเนินงานตำบลจัดการสุขภาพ แบบประเมินและเกณฑ์การประเมินตำบล จัดการสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

การสร้างและใช้แผนที่ยุทธศาสตร์ สนับสนุนให้สำนักงานสาธารณสุขอำเภอร้อยละ 30 ให้สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สนับสนุนการดำเนินการกองทุนสุขภาพประจำตำบล โดยสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ร้อยละ 100 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

การสนับสนุนงบประมาณที่ผ่านศูนย์ 6 เดือนแรก ( 1 ตค. 51 - 31 มีค. 52 ) งบประมาณในการคัดเลือก อสม.ดีเด่น (10,000บาท) และรณรงค์วัน อสม.แห่งชาติ(10,000 บาท) รวมจังหวัดละ 20,000 บาท งบประมาณสนับสนุนการพัฒนาตำบลจัดการสุขภาพ จังหวัดละ 2 ตำบล 20,000 บาท 6 เดือนหลัง (1 เมย. 52- 30 กย. 52 ) งบเฝ้าระวังไข้หวัดนก อำเภอละ 5,000 บาท งบอื่นๆ ตามนโยบาย

สวัสดีครับ