การจัดการด้านข้อมูลและ งบประมาณด้านสุขภาพ นพ. อุกฤษฏ์ มิลินทางกูร สำนักงานปฏิรูประบบสุขภาพ แห่งชาติ ( สปรส.) 27 เมษายน 2548
ขอบเขตการอภิปราย วาทกรรมสุขภาพ บริบทนอกภาครัฐ บางเรื่องในหลายเรื่อง เดินสายกลาง
ทัศนะที่จำเป็น เมืองไทยแข็งแรง = คนไทยอยู่ เย็นเป็นสุข สุขภาวะ 4 มิติ การสร้างสุขภาพ ความยั่งยืนของการพัฒนา เป็นเรื่องของทุกคน (All for Health)
กรณีร้อนๆ ความรุนแรง - ศึกพริกป่น อุบัติภัย - 10 วันอันตราย พิบัติภัย - คลื่นยักษ์ โรคภัย - จากน้ำมือมนุษย์ สาระภัย - สื่อสารมวลชน วิทยุชุมชน ท้องถิ่นนิยม - อัตลักษณ์ชุมชน
วาทกรรมสุขภาพ ปรากฏการณ์ " ศรีธนญไชย " - มาตรฐานและตัวชี้วัด -> หลุมพราง GDH Vs GDP - คุณค่า ประชาสังคม - การมีส่วนร่วม ธรรมาภิบาล - บริหารระเบียบ / กฎหมาย
วาทกรรมสุขภาพ ภูมิปัญญาท้องถิ่น - วิถีเพื่อการพึ่งตนเอง การจัดการความรู้ - จากหิ้งสู่ชุมชน นโยบายสาธารณะ - กระบวนการสมัชชา พันธมิตร - ความเท่าเทียม
การจัดการข้อมูลด้าน สุขภาพ สุขภาพ (+ ข้อมูล ) เป็นเรื่องของทุกคน เพื่อการเห็นตนเอง เพื่อรู้ว่า ใคร ทำอะไร ที่ใหน อย่างไร (mapping) ที่ทำความจริงให้ปรากฏ ที่ใช้ประโยชน์มีไม่มาก ที่อยากรู้มี มาก เพื่อการตลาด ( ทางสังคม ) Vs เพื่อ การรายงาน IT เป็นเครื่องมือเท่านั้น
การจัดการด้านงบประมาณ งบประมาณเป็นของประชาชน ผลลัพท์จากการสร้างสุขภาพมีสูง มีงบประมาณสำหรับข้อมูล กฎระเบียบของราชการ Vs ของ ประชาชน ความเชื่อมั่นในศักยภาพชุมชน ใช้หนุนเสริมทุนทางสังคม การกระจายอำนาจคือคำตอบ สุดท้าย