คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง การวัดภาคปฏิบัติ โดย ดร.ผดุงชัย ภู่พัฒน์ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
การวัดภาคปฏิบัติ การวัดความสามารถของบุคคลในการ ทำงานอย่างใด อย่างหนึ่ง โดยบุคคล นั้นได้ลงมือปฏิบัติ พฤติกรรมที่แสดงออก / ชิ้นงาน
การวัดปฏิบัตินั้นจะพิจารณา ผู้ปฏิบัติสามารถปฏิบัติงานได้ในระดับใด
สามารถปฏิบัติตามได้ (Following) สามารถปฏิบัติได้ด้วยตัวเอง (Ability) สามารถทำได้อย่างราบรื่นด้วยไม่ติดขัด ( Continuing) สามารถทำได้อย่างชำนาญ (Autonomic)
ระดับของการวัดการปฏิบัติ มีความจำเป็นจริง ต่ำ สูง ระดับ1 การแก้ปัญหาในกระดาษ ( Paper and Pencil Performance Test ) ระดับ2 การแก้ปัญหาเฉพาะส่วน ( Identification Test )
ระดับของการวัดการปฏิบัติ ระดับ3 การปฏิบัติงานในสถานการณ์ ( Simulated Performance ) ระดับ4 การปฏิบัติงานจริง (Authentic Performance )
ปฏิบัติจากสถานการณ์จำลอง สูง ปฏิบัติงาน ปฏิบัติจากสถานการณ์จำลอง แบบทดสอบ ระดับการรับรู้ แบบทดสอบเชิงจำแนก ต่ำ ภาพประกอบ ระดับความเป็นจริงของการวัดภาคปฏิบัติ
การประเมินโดยใช้เทคนิคการสังเกต วิธีการที่ใช้ในการประเมินผลภาคปฏิบัติ การประเมินโดยใช้เทคนิคการสังเกต
ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือวัดภาคปฏิบัติ 1. วิเคราะห์หลักสูตร 2. คัดเลือกจุดประสงค์ 3. วิเคราะห์ภาระงาน 4. กำหนดวิธีการวัด 5. สร้างเครื่องมือวัดภาคปฏิบัติ 6. ตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ