การวิเคราะห์บทคัดย่อ (Abstract Analysis) ดร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
งานวิจัย ผลการใช้แบบฝึกการเขียนคำที่มักเขียนผิด
Advertisements

สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
การวิจัย RESEARCH.
สื่อที่สร้างด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
นวัตกรรมการทดสอบความรู้เดิม
ศึกษาความพึงพอใจของผู้บริหารและครูต่อสภาพแวดล้อมของสถานศึกษา อำเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา โดย เสมา แสนยากร.
การศึกษาความพึงพอใจของ
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ สาระ ดนตรี เรื่อง การเรียนดนตรีพื้นบ้านของจังหวัดน่าน.
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน วิชาโปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่อง งานนำเสนอข้อมูลด้านมัลติมีเดียนักเรียนปวช.2.
ณัฐชนัญ เสริมศรี ผู้วิจัย สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ
นางเจริญสุข ผ่องภักดี
ชื่อเรื่อง การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสามมิติเพื่อพัฒนาการเรียน การสอนหน่วยที่ 1 การบำรุงรักษาเครื่องยนต์เล็ก วิชางานเครื่องยนต์เล็ก รหัส
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีวชิราโปลีสงขลา อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา
นายวิชชุกร บัวคำซาว วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
นางสาวจุฑารัตน์ ลุนพงษ์
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์วิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 3 เรื่องอัตราส่วนตรีโกณมิติโดยใช้ชุดฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับชั้น ปวช.2 แผนกช่างอุตสาหกรรม.
นางนุชนาฎ หิรัญ โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
งานวิจัย เรื่อง การใช้ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
ชื่อรายงานการวิจัย การศึกษาประสิทธิภาพเอกสารคำสอนรายวิชา ๐๐๐ ๒๑๐ ตรรกศาสตร์เบื้องต้น สำหรับนิสิตชั้นปีที่ ๒ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตสุรินทร์
จัดทำโดย น.ส. อมรทิพย์ พึ่งเพียร
การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสาม
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาโปรแกรมประยุกต์ทางคอมพิวเตอร์ โดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 สาขาคอมพิวเตอร์วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
ผู้วิจัย น.ส สุนิสา แก้วมา วิทยาลัยเทคโนโลยีรัตนโกสินทร์
ชื่อเรื่องวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ด้านการพูดภาษาอังกฤษของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาการบัญชี วิทยาลัยเทคโนยีวิมล.
1. 2 ปัญหาของการวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมล ศรีย่าน  จุดมุ่งหมายของหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 กำหนดให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ และประสบการณ์
วิจัยประเภทการเรียนการสอน
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
ว่าที่เรือตรีไชยา วิเชียนล้ำ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
การใช้โปรแกรม GSP พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
นายวีระชัย ทะจันทร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
วิจัยในชั้นเรียน โดย อาจารย์ ปรารถนา นามบุรี
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะ การอ่าน
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกการอ่านของนักเรียนระดับ ปวช
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
นางสุกัญญา พลรัตนมงคล วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ผลงานวิจัยเรื่อง “การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาธุรกิจทั่วไป เรื่องรูปแบบขององค์กรธุรกิจของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 แผนกบริหารธุรกิจโดยใช้ชุดการสอนแบบศูนย์การเรียน.
นางสาวมัทนา เครือแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย อาจารย์วราพร จันทร์แจ่มหล้า
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาพิมพ์ดีดไทย 1 โดยใช้แบบฝึกกลุ่มคำสั้น ๆ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ชั้นปีที่ 1 โดย นางสุกัญญา พลรัตนมงคล.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่อง บทเรียนการสอนโดยใช้ E-Learning วิชาบัญชีต้นทุน 1 ของ นักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)
3 rd largest economy world’s วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ is the การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชา คอมพิวเตอร์และ ระบบปฏิบัติการเบื้องตัน ของนักศึกษาระดับ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์โดยใช้ชุดการสอน ในรายวิชาสุนทรียศาสตร์เบื้องต้น ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขาคอมพิวเตอร์กราฟิก ผู้วิจัย อาจารย์ปนัดดา วรกานต์ทิ
ความพึงพอใจของผู้เรียนต่อคุณภาพการสอนของครู แผนกสามัญ หมวดภาษาอังกฤษ ปีการศึกษา 2550 วิธีการวิจัยวัตถุประสงค์ ผลการศึกษา พบว่า โดยรวมนักเรียนมี ความพึงพอใจต่อคุณภาพ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาอาชีวศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาการ บัญชี วิชาการบัญชีเบื้องต้น ด้วยวิธีการจัดการเรียนรู้แบบสร้าง สถานการณ์จำลอง.
ชื่อผู้วิจัย ประชิด เกิดมาก
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน ด้วยวิธีทัศน ศึกษาแบบบูรณาการ รายวิชา งานห้องผ้าและ ซักรีด ของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 สาขาการโรงแรม.
นางสาวทิพย์วรรณ จะปูน วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร เชียงใหม่
ชื่อเรื่อง ผู้วิจัย นางชลิตา บุญวันท์ การฝึกทักษะการพิมพ์ด้วยการใช้โปรแกรม เกมคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช.1.
เรื่องระบบจำนวน ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้บทเรียนมัลติมีเดียแบบ
ผู้วิจัย นางสาววริศรา ไชยโย ผู้วิจัย การพัฒนาชุดฝึกอบรม เรื่อง การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา เอกชน ประเภทอาชีวศึกษา (Development of a Training Package.
นักศึกษาขาดทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ในด้านการจำแนกสาร และสมบัติของสาร นักศึกษาไม่สามารถจำแนกชนิด ของสารได้ นักศึกษาไม่สามารถบอกสมบัติของ สารชนิดต่างๆได้
วิชา เครื่องวัดไฟฟ้า รหัส
รายงานการวิจัย เรื่อง การพัฒนาทักษะการใช้เวอร์เนียร์ไฮเกจ ร่างแบบชิ้นงานโดยใช้ชุดฝึกทักษะ วิชางานฝึกฝีมือ ของนักเรียนช่างไฟฟ้า สาขางานไฟฟ้ากำลัง ชั้นปีที่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวิเคราะห์บทคัดย่อ (Abstract Analysis) ดร

องค์ประกอบของบทคัดย่อ Abstracts 3 1 ชื่องานวิจัย Research Title 2 ชื่อผู้วิจัย Author 3 วัตถุประสงค์ของการวิจัย Purpose รูปแบบของการวิจัย Research Design 4

องค์ประกอบของบทคัดย่อ (ต่อ) ตัวแปร Variables 5 ประชากร/ กลุ่มตัวอย่าง Population/ Samples 6 เครื่องมือและเทคนิค Instrument and Technique 7 การวิเคราะห์ข้อมูล Data analysis 8 ผลการวิจัย Results 9

ชื่องานวิจัย ชื่อผู้วิจัย ปรัชญา พรมฮาด การพัฒนาบทเรียนเสริมทักษะการอ่านภาษาอังกฤษที่มีเนื้อหาบริบทท้องถิ่น สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 อำเภอลำทะเมนชัย จังหวัดนครราชสีมา ชื่อผู้วิจัย ปรัชญา พรมฮาด

วัตถุประสงค์ (1) พัฒนาบทเรียนเสริมทักษะการอ่านภาษาอังกฤษที่มีเนื้อหาบริบทท้องถิ่น ของอำเภอลำทะเมนชัย จังหวัดนครราชสีมา สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ตามเกณฑ์ประสิทธิภาพ 80 / 80 (2) เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการอ่านภาษาอังกฤษของนักเรียนก่อนและหลังการใช้บทเรียนเสริมทักษะการอ่านที่มีเนื้อหาบริบทท้องถิ่น (3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียน การสอนโดยใช้บทเรียนเสริมทักษะการอ่านภาษาอังกฤษที่มีเนื้อหาบริบทท้องถิ่น

ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนชุมชนลำทะเมนชัยศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครราชสีมา เขต 7 ซึ่งกำลังศึกษาในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552 จำนวน 30 คน ซึ่งได้มาโดยการเลือก แบบเจาะจง

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1. บทเรียนเสริมทักษะการอ่านภาษาอังกฤษที่มีเนื้อหาบริบทท้องถิ่น จำนวน 8 เรื่อง 2. แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้บทเรียนเสริม ทักษะการอ่านที่มีเนื้อหาบริบทท้องถิ่นร่วมกับกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดทฤษฎ โครงสร้างความรู้และกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิคจิ๊กซอว์ จำนวน 8 แผน 3. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการอ่านภาษาอังกฤษ จำนวน 30 ข้อ 4. แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนต่อการเรียนโดยใช้บทเรียน เสริมทักษะการอ่านภาษาอังกฤษที่มีเนื้อหาบริบทท้องถิ่น จำนวน 20 ข้อ

วิเคราะห์ข้อมูล ผลการวิจัย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัย ผลการวิจัยพบว่า 1. ประสิทธิภาพของบทเรียนเสริมทักษะการอ่านภาษาอังกฤษที่มีเนื้อหาบริบทท้องถิ่นของอำเภอลำทะเมนชัย จังหวัดนครราชสีมา เท่ากับ 83.56/84.11 สูงกว่าเกณฑ์ 80/80 ที่ตั้งไว้

2. ผลสัมฤทธิ์ทางการอ่านภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หลังการใช้บทเรียนเสริมทักษะการอ่านภาษาอังกฤษที่มีเนื้อหาบริบทท้องถิ่น สูงกว่าคะแนนผลสัมฤทธิ์ทาง การอ่านภาษาอังกฤษก่อนการใช้บทเรียนเสริมทักษะการอ่านภาษาอังกฤษที่มีเนื้อหาบริบทท้องถิ่นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนเสริมทักษะการอ่านภาษาอังกฤษที่มีเนื้อหาบริบทท้องถิ่นอยู่ในระดับมาก

Research title: Author Pratya Promhad The Development of the English supplementary reading lesson based on local context for Prathom suksa six student in Lamthamenchai district Nakornratchasima province. Author Pratya Promhad

Purposes The purposes of this research were : 1. To develop the English supplementary reading lesson based on local context for Prathom suksa six student in Lamthamenchai district Nakornratchasima province based on rated criteria of 80/80

2. To study English reading achievement before and after using the English supplementary reading lesson based on local context 3. To study the students’ satisfaction in learning by using the English supplementary reading lesson based on local context

Population and Sample The sample of this research were 30 Prathom suksa six students in the first semester of academic year 2009 at Chunchon Lamthamenchai suksa school,Nakornratsima Education service Area office 7 which were selected by purposive random sampling.

Instruments : The research instruments consist of 8 English supplementary reading lesson based on local context 8 lesson plans of English reading for using the supplementary reading lesson based on local context with schema theory

30 items of the English reading achievement test with reliability at 0 30 items of the English reading achievement test with reliability at 0.85. 20 items of students’ satisfaction questionnaire to ward learning by using the English supplementary reading lesson based on local context

Data analysis The statistics used for this research were analyzed by percentage mean, standard deviation and t-test.

Results The research finding were found as follows : 1. The efficiency of the English supplementary reading lesson based on local context was at 83.56/84.11 which was higher than the criteria expected.

2. The achievement in English reading after using developed lesson was significantly higher than the achievement before using the developed lessons a .05 3. Overall rate of Students’ satisfaction, to wards learning by using the English supplementary reading lesson based on local context was found at high rate.

Recommendation Variables The independent variable in this study was the English supplementary reading lesson based on local context. The dependent variables were learning achievement in English reading and students’ satisfaction.

Research Design Research methodology in this study was One Group Pretest – Posttest Design.

The objective of the study were……………… The objective of the study were………………..…… The purposes of this research were ……………….. The samples composed of …………………………. The total samples was ……………………………… The subjects were ………………………………….. The samples used in this research were ……………

The instrument used for data collection was…………………………………………… There were two instrument used in this study. The first was ………………………………… Questionnaires and the interview forms were used for data collection.

Quantitative data were analyzed by frequency, percentage and mean Quantitative data were analyzed by frequency, percentage and mean. Quantitative data were analyzed by content analysis. The ANOVA and MANOVA 2x3 were employed in analyzing the data.

The main findings were ……………………… The results were as follows ………………… The main findings were ……………………… The results were as follows …………………. Findings indicated that ………………………. The results showed that …………………….. The results from this research are as follows. First,………………………………………….

บัณฑิตวิทยาลัย ม.รภ.สุรินทร์ Thank You ! Dr. Detkul Matavanukul. บัณฑิตวิทยาลัย ม.รภ.สุรินทร์