โดย อารมณ์ ผิวดำ สพม.38 (สุโขทัย-ตาก)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและประเมินผล ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
Advertisements

การบริหารแผนสู่การปฏิบัติ
สาระสำคัญของการสัมมนา
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ O-NET
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
วิธีการจัดแฟ้มมาตรฐาน
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สรรคุณค่าวิชาการ สู่สังคม
ชื่อกลุ่ม งานเสร็จไว สบายใจลูกค้า
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
ตัวชี้วัดที่ 9 : ร้อยละความสำเร็จ ในการให้ความร่วมมือดำเนินงานตามคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการ ที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุนของกรมอนามัย.
หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการก้าวสู่ การเป็นหน่วยงานจัดการความรู้ดีเด่น
1. แจ้งหน่วยงานให้ทราบวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ครั้งที่ 1/2555
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
และข้อมูลระดับภาควิชา (SAR – II)
กฎ ก.พ. ว่าด้วยการทดลองปฏิบัติหน้าที่
การจัดทำระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน ขององค์กรและบุคคล Performance Management System( PMS ) โดย สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดสมุทรสงคราม.
1. การดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ/คณะทำงาน
คู่มือการใช้งานระบบ DOC รายงานผลการปฏิบัติราชการ
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
กองแผนงานละวิชาการ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
13 สิ่งที่หน่วยงานต้อง ดำเนินการ  ศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับกรอบ การประเมินผลชี้แจงทำความเข้าใจ และมอบหมายงานให้ผู้ที่เกี่ยวข้อง รับผิดชอบดำเนินการ  
สิ่งที่หน่วยงานต้องดำเนินการ  ศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับกรอบ การประเมินผล ชี้แจงทำความเข้าใจและ มอบหมายงานให้ผู้ที่ เกี่ยวข้องรับผิดชอบ ดำเนินการ  จัดทำคำรับรองระดับหน่วยงาน.
วัตถุประสงค์ของการประชุมครั้งนี้
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
สรุปการประเมินกระบวนการทำงานส่งเสริมสุขภาพ เรื่อง แผนบูรณาการในภาพรวม
1 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กลุ่มที่ 5. 2 สมาชิกกลุ่ม 18.
การบริหารความเสี่ยง (Risk Management)
โดย วัชรินทร์ จำปี รองเลขาธิการ กศน.
การรายงานความก้าวหน้าในระบบ
.ผลงานด้านการเตรียมการสอน การจัดทำแผนการสอน
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
ข้อเสนอแนะและปัจจัยแห่งความสำเร็จ
ปัจจัยแห่ง ความสำเร็จ ประสบการณ์ จริง แหล่งข้อมูล ประกอบด้วย 3 ส่วน.
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
แนวปฏิบัติในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการดำเนินการ มาตรการประหยัดพลังงาน
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การบรรยายความรู้เรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
การประชุมทีมงานเครือข่าย การจัดการความรู้ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ระบบติดตามผลการปฏิบัติราชการสำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร
บทบาทนายหมายเลข ๑ ผู้บังคับบัญชา ผู้บริหาร ผู้นำ ผู้ประสานงาน.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แผนการดำเนินงาน ของศูนย์กฎหมาย ปีงบประมาณ พ.ศ กรมควบคุมโรค
การรายงานกิจกรรมการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
รายละเอียดของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
ตัวชี้วัดคุณภาพการให้บริการประชาชน
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
โครงการบริหารจัดการคลังวัคซีนสำรองเพื่อตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ ๒๕๕๘.
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
Progress Report 2548 Financial Report Link to Progress Report 2550 Capacity Building 2551 Estimates Report Link to Excel Loader KPI Strategy.
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โดย อารมณ์ ผิวดำ สพม.38 (สุโขทัย-ตาก) วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practices) ผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ (KRS) และแผนปฏิบัติราชการ (ARS) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554 โดย อารมณ์ ผิวดำ สพม.38 (สุโขทัย-ตาก)

สพม.38 (สุโขทัย-ตาก) เป็นอันดับที่ 1 ของประเทศ 2/10

สพม.38 (สุโขทัย-ตาก) ถ.สิงหวัฒน์ ต.ธานี อ.เมือง ฯ จ.สุโขทัย 64000 โทร. 0-5561-2793

แบ่งความรับผิดชอบ ตามภารกิจ การมีส่วนร่วม ภายใต้ค่านิยม วิธีการปฏิบัติงาน แบ่งความรับผิดชอบ ตามภารกิจ การมีส่วนร่วม ภายใต้ค่านิยม องค์กร “WE ARE FAMILY” ดังนี้ ภายใน สพม.38 สถานศึกษา สหวิทยาเขต จำนวน 5 แห่ง กลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการมัธยมศึกษาจังหวัดสุโขทัยและจังหวัดตาก จำนวน 2 แห่ง กลุ่มเครือข่ายสาระการเรียนรู้ จำนวน 12 กลุ่มสาระ 3/10

วิธีการปฏิบัติงาน ภายใน สพม.38 1. จัดประชุมวิเคราะห์ตัวชี้วัด มอบหมายภารกิจ ตามความเหมาะสม 2. แต่งตั้งคณะทำงานรับผิดชอบตัวชี้วัด 3. จัดทำปฏิทินการปฏิบัติงาน โดยแยกหัวข้อตัวชี้วัด, ผู้รับผิดชอบ, แบบเอกสารอ้างอิงและหลักฐานประกอบโดยระบุหน้าเอกสารที่ ต้องส่งให้ชัดเจน 4. มอบคู่มือและแบบเอกสารแก่ผู้รับผิดชอบตัวชี้วัดทุกคน พร้อมแผ่นซีดี 5. กำกับติดตามตัวชี้วัดทุกระยะ โดยเฉพาะก่อนการรายงาน รอบ 6 เดือน, 9 เดือน และ 12 เดือน จากการร่วมประชุมสภากาแฟ ทุกสัปดาห์ 4/10

วิธีการปฏิบัติงาน สถานศึกษา 1. จัดประชุมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับตัวชี้วัดในส่วนที่เกี่ยวข้อง 2. แจ้งปฏิทินการปฏิบัติงานโดยแยกหัวข้อตัวชี้วัด, ผู้รับผิดชอบ, แบบเอกสารอ้างอิงและหลักฐานประกอบ โดยระบุหน้าเอกสาร ที่ต้องส่งให้ชัดเจน 3. มอบคู่มือและแบบเอกสารแก่ทุกโรงเรียนพร้อมแผ่นซีดี 4. จัดทำบันทึกข้อตกลงระหว่าง ผอ.สพม.38 กับ ผอ.โรงเรียน 5. เน้นย้ำความสำคัญของการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ และตัวชี้วัดตาม แผนปฏิบัติราชการ ในการประชุมผู้บริหาร โรงเรียนทุกครั้ง เพื่อนำผลมาปรับปรุงการปฏิบัติงาน และรายงาน ผลได้ตามกำหนด 5/10

วิธีการปฏิบัติงาน สหวิทยาเขต, กลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพ ฯ และกลุ่มเครือข่ายสาระการเรียนรู้ 1. สำรวจโครงการ/แผนปฏิบัติการ สอดคล้องกับตัวชี้วัดเรื่องใด 2. รายงานการจัดกิจกรรม ผลการปฏิบัติงาน ปัญหา และการแก้ไขปรับปรุง 3. ภาพกิจกรรม 6/10

การกำกับติดตามและรายงานผลทางระบบ KRS และ ARS   การกำกับติดตามและรายงานผลทางระบบ KRS และ ARS 1. เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบจัดทำแฟ้มเอกสารที่เกี่ยวข้องครบทุกตัวชี้วัด 2. รวบรวมแบบรายงานและเอกสารหลักฐานจากผู้รับผิดชอบตัวชี้วัด ใน สพม.38 3. รวบรวมแบบรายงานและเอกสารหลักฐานจากสถานศึกษา, สหวิทยาเขต ฯ, กลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพ ฯ, กลุ่มสาระการเรียนรู้ 4. ตรวจสอบรายละเอียดการกรอกข้อมูลทุกตัวชี้วัด 5. จัดแยกตัวชี้วัด และรวบรวมสรุปภาพรวมของ สพม.38 6. จัดทำแบบเอกสารอ้างอิงให้ครบถ้วนสมบูรณ์ 7/10

การกำกับติดตามและรายงานผลทางระบบ KRS และ ARS 7. คัดเลือกหลักฐานและภาพถ่ายประกอบจากที่ผู้รับผิดชอบตัวชี้วัด, สถานศึกษา, สหวิทยาเขต ฯ, กลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพ ฯ, กลุ่มสาระการเรียนรู้ส่งมา ให้เชื่อมโยงกับการรายงานตัวชี้วัด 8. รายงานข้อมูลทางระบบ KRS, ARS ตามกำหนด 9. ติดตามตรวจสอบข้อชี้แนะจากผู้รับรองตัวชี้วัด 10. ประสานงานขอข้อมูลหลักฐานเพิ่มเติมจากผู้รับผิดชอบ 11. รายงานพร้อมแนบเอกสารเพิ่มเติมจนผู้รับรองตัวชี้วัดให้การรับรอง 12. รายงานผลต่อผู้บังคับบัญชา 8/10

เทคนิคในการรายงานผลการปฏิบัติราชการ(KRS) และแผนปฏิบัติราชการ (ARS)ให้ประสบผลสำเร็จ 1. การจัดคนให้ตรงกับภารกิจตัวชี้วัด มอบภารกิจรับผิดชอบตัวชี้วัด ให้เหมาะสมกับตำแหน่งหน้าที่ตามภารกิจงาน 2. การจัดทำปฏิทินการปฏิบัติงานที่ชัดเจน 3. การสร้างความเข้าใจในรายละเอียดแต่ละตัวชี้วัดแก่ผู้รับผิดชอบ 4. การให้บริการแบบเอกสารอ้างอิงแก่ผู้รับผิดชอบทั้งรูปเล่มและซีดี 5. การให้คำปรึกษา ข้อเสนอแนะด้วยความเต็มใจ 9/10

6. การประสานงานที่ดี ถูกกาลเทศะ และระยะเวลาที่เหมาะสม เทคนิคในการรายงานผลการปฏิบัติราชการ(KRS) และแผนปฏิบัติราชการ (ARS)ให้ประสบผลสำเร็จ   6. การประสานงานที่ดี ถูกกาลเทศะ และระยะเวลาที่เหมาะสม 7. การติดตามการรับรองแต่ละตัวชี้วัดจากผู้รับรอง สพฐ. 8. การสร้างความร่วมมือทำงานเป็นกลุ่มและเครือข่าย 9. การชื่นชมและขอบคุณของผู้บังคับบัญชาต่อผู้เกี่ยวข้อง 10.การมอบเกียรติบัตรให้ทุกคนที่ให้ความร่วมมือใน สพม. และโรงเรียนที่ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมประเมินวางแผน ในปีต่อไป 10/10

สวัสดี