การประเมินความเป็นเว็บช่วยสอน (Evaluation of Web-Based Instructin) Chun Ouputcha
องค์ประกอบพื้นฐาน หัวข้อของเว็บ 2. เนื้อหา 3. การสืบค้น (การเชื่อมโยง, คำแนะนำ , แผนผัง, เครื่องมือสืบค้น ฯลฯ) 4. ตำแหน่งที่อยู่ของเว็บ (URL) 5. ผู้รับผิดชอบดูแลเว็บ 6. ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง (สัญลักษณ์ของสถาบัน) 7. เวลาที่ปรับปรุงครั้งล่าสุด 8. หัวข้อข่าวสาร
เกณฑ์การประเมินเว็บโดยทั่วไปของ ทิลแมน (Tillman, 1998) ความเชื่อมั่นที่มีต่อองค์ประกอบของข้อมูล ความน่าเชื่อถือของผู้เขียนหรือผู้สร้างเว็บ การนำไปเปรียบเทียบหาความสัมพันธ์กับเว็บอื่น ๆ . เสถียรภาพของข้อมูลภายในเว็บ ความเหมาะสมของรูปแบบที่ใช้ ความต้องการใช้ซอฟแวร์, ฮาร์ดแวร์ และมัลติมีเดียต่าง ๆ
แนวคิดการประเมินเว็บช่วยสอนของ เฮนค์ (Henke, 1997) โจเนส และโอคีย์ (Jones and Okey, 1995) ให้แนวคิดในการประเมินเอาไว้ 5 ด้านคือ 1. การอ่านและการเห็นของหน้าจอภาพ 2. องค์ประกอบรวมของสื่อ 3. การใช้สัญลักษณ์ 4. การเข้าถึงข้อมูล 5. ขอบเขตที่ต่างไปจากปกติ
สรุปแนวคิดโดย คาพอน (Kapoun, 1998) ออกมาเป็นเกณฑ์การประเมิน5 ประการ คือ 1. ความถูกต้องของเนื้อหาเว็บ ต้องประเมินว่ามีการแจ้งชื่อ สถาบันสถานที่ติดต่อ หรือไม่ 2. ความน่าเชื่อถือของเว็บ 3. ความมุ่งหมายของเว็บ เว็บจะต้องมีเป้าหมายและวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน 4. ความทันสมัย เป็นการบ่งบอกวันเวลาที่เริ่มนำเสนอ พื้นที่ของเว็บ การปรับปรุงและข้อมูลล่าสุดเมื่อใด 5. ความครอบคลุม การเชื่อมโยงเนื้อหา การใช้ภาพ ข้อความ ข้อมูลการออกแบบหน้าจอภาพ การเข้าถึงข้อมูลหรือการค้นหา
แบบประเมินตนเอง ความสามารถขั้นต้น ของผู้พัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บ 1.ด้านการใช้งานอินเทอร์เน็ต 2.ด้านความสามารถทั่วไป 3.ด้านการติดตั้งเว็บไซต์ 4.ด้านการติดตั้งองค์ประกอบเว็บ 5.ด้านการออกแบบเว็บไซต์ 6.ด้านการกำหนดคุณสมบัติเว็บและผู้รับผิดชอบ 7.ด้านการเชื่อมโยง 8. ด้านเทคนิคพิเศษ
สื่อการสอนออนไลน์ วิชาคอมพิวเตอร์ ครูพรเพ็ญ ขวัญพัทลุง สื่อการสอนออนไลน์ วิชาคอมพิวเตอร์ ครูพรเพ็ญ ขวัญพัทลุง เข้าเว็ปไซท์โรงเรียน คณะราษรฏบำรุง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ยะลาเขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
อ้างอิง ชนิกานต์ วังวิเศษกุศล Search, Post and Discuss on This Topic: ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข http://www.edtechno.com/1/index.php?option=com_content&task=view&id=97&Itemid=1
สวัสดี