ธรรมาภิบาลกับการจัดการภาครัฐแนวใหม่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การปฏิรูปการส่งเสริม และการจัดการศึกษาตลอดชีวิต
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
บทบาทและหน้าที่ของนักคอมพิวเตอร์
การบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาผลการปฏิบัติงาน
การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี Good Governance
หลักการสำคัญ ในการปรับปรุงกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
การพัฒนาระบบบริหารภาครัฐที่มีธรรมาภิบาล เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
รัฐประศาสนศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์เป็นเรื่องเกี่ยวกับ “กิจการสาธารณะ (Public Affairs)” และพื้นฐานของรัฐประศาสนศาสตร์ก็คืองานบริหารงานภาครัฐใดๆ ที่ต้องคำนึงถึง.
ขอบข่ายของการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์ โดย นางสาวยศธิดา ขันแก้ว
เรื่อง หน้าที่พลเมือง
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 7
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
นางสาวรัชดา สุทธิวรวุฒิกุล
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ ยุทธศาสตร์จังหวัดกระบี่
วิธีการสหกรณ์ อุดมการณ์ หลักการ นายบรรทูรย์ ราชิวงค์
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555 สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555.
ผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมสหกรณ์กรุงเทพมหานคร พื้นที่ 2
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ
สรุปโครงสร้างของ (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การปฏิรูปการส่งเสริม และการจัดการศึกษาตลอดชีวิต
หลักการบริหารภาครัฐยุคใหม่
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
การประชุมชี้แจง เพื่อเปิดรับฟังความคิดเห็นต่อร่างนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี กรมการพัฒนาชุมชน ผ่านระบบ Web Conference วันจันทร์ ที่ ๓๐ กรกฎาคม ๒๕๕๕.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
Good Corporate Governance
ยินดีต้อนรับผู้เข้าสัมมนาทุกท่าน
การกำหนดความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
การมีส่วนร่วมของประชาชน ในการบริหารราชการ
โดย สมภพ อมาตยกุล 21 กันยายน 2548
มาตรฐานทางคุณธรรมและจริยธรรม ของ ผู้ตรวจราชการและหน่วยงานที่รับการตรวจราชการ สุรศักดิ์ แสงอร่าม รองเลขาธิการ ส.ป.ก. 21 ต.ค
แนวทางการขับเคลื่อน การสร้างความสมานฉันท์ในสังคมไทย
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
สำนักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
K M กจ. ประจำเดือนมีนาคม 2551
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
การประชุมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ด้านนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปี 2549.
นโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี (Organizational Governance: OG)
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
“การถ่ายทอดตัวชี้วัด จากระดับองค์กรลงสู่ระดับบุคคล”
การปฐมนิเทศข้าราชการกรมประชาสัมพันธ์
นโยบายการพัฒนาระบบราชการและแนวทางการปรับปรุงโครงสร้างหน่วยงานภาครัฐ
PMQA พัชรศรี ศรีเมือง กลุ่มพัฒนาระบบบริหารกระทรวงยุติธรรม 14 ก.ย. 53
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ และ รางวัลความเป็นเลิศด้านการบริหารราชการ แบบมีส่วนร่วม วัน...ที่ ... มกราคม 2557 เวลา ……. น. ณ ……………………………………………
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
การบริหารงานบุคลากร ภาครัฐแนวใหม่
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
จรรยาบรรณ เรื่องส่งเสริมเสรีภาพในวิชาชีพ
การมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารราชการ และ ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จในการเปิดโอกาส ให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดง ความคิดเห็นและร่วมติดตามตรวจสอบผล.
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
หลักนิติธรรมในระบอบประชาธิปไตย กับการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
สังคมไทยที่พึงประสงค์ เข้มแข็งและมีดุลยภาพ 3 ด้าน
ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักงานอัยการสูงสุด
วิสัยทัศน์การพัฒนาตำบล
 กระแสการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่าง กว้างขวางทำให้เกิดการติดต่อด้านเศรษฐกิจ ระหว่างประเทศ สร้างตลาดการค้า การ แข่งขัน การส่งออก การบริการ การลงทุนและ.
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ (Thailand Public Service Awards)
พระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวก ในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ธรรมาภิบาลกับการจัดการภาครัฐแนวใหม่ สัปดาห์ที่ 3 ดร.เพ่ง บัวหอม

ลำดับการนำเสนอ หลักธรรมาภิบาล วิวัฒนาการของธรรมาภิบาล ความหมายของธรรมาภิบาล หลักธรรมาภิบาล แนวคิดและรูปแบบ

วิวัฒนาการของธรรมาภิบาล ในช่วงต้น พ.ศ. 2523 ธนาคารโลก(World Bank) และกองทุนนานาชาติ ได้เข้ามามีบทบาทในการสนับสนุนและพัฒนาแนวคิดเกี่ยวกับการปกครองที่ดี หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า “Good Governance” หรือ ธรรมาภิบาล

วิวัฒนาการของธรรมาภิบาล ธรรมาภิบาล เป็นแนวคิดที่ใช้ในสาขารัฐศาสตร์ และรัฐประศาสนศาสตร์ โดยเป็นคำ ที่อยู่รวมกับกลุ่มคำประชาธิปไตย ประชาสังคม การมีส่วนร่วมของประชาชน สิทธิมนุษยชน และการพัฒนาที่ยั่งยืน

วิวัฒนาการของธรรมาภิบาล ธรรมาภิบาลเป็นมิติใหม่ที่เน้นบทบาทของผู้บริหารในการที่จะปฏิบัติงาน ให้มีประสิทธิภาพ - มีการตรวจสอบสามารถประเมินผลงานได้อย่างชัดเจน - มีการแข่งขันเพื่อการจัดการบริการที่ดีขึ้น

ความหมายของธรรมาภิบาล 1. องค์การสหประชาชาติ หรือ United Nations (UN) ธรรมาภิบาล คือ การมีส่วนร่วมของประชาชน และสังคมอย่างเท่าเทียมกัน และมีคำตอบพร้อมเหตุผลที่สามารถชี้แจงกันได้

ความหมายของธรรมาภิบาล 2. United Nations and Development Programme (UNDP) ธรรมาภิบาล หมายถึง การดำเนินงานของภาคการเมือง การบริหาร และภาคเศรษฐกิจที่จะจัดการกิจการของประเทศในทุกระดับ ประกอบด้วยกลไก กระบวนการ และสถาบันต่าง ๆ ที่ประชาชนและกลุ่มสามารถแสดงออกซึ่งผลประโยชน์ ปกป้องสิทธิของตนเองตามกฎหมาย และแสดงความเห็นที่แตกต่างกันบนหลักการของการมี ส่วนร่วม ความโปร่งใส ความรับผิดชอบ การส่งเสริมหลักนิติธรรม

ความหมายของธรรมาภิบาล 3. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการสร้างระบบบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี พ.ศ.2542 การบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดีเป็นแนวทางสำคัญในการจัดระเบียบให้สังคมทั้งภาครัฐ ภาคธุรกิจเอกชนและภาคประชาชน

ความหมายของธรรมาภิบาล 4. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และ วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี หมายถึง การปฏิบัติราชการที่มีความมุ่งหมายให้บรรลุเป้าหมายตามที่มาตรา 6 บัญญัติไว้ คือ - เกิดประโยชน์สุขของประชาชน - เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ - มีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ ไม่มีขั้นตอนการปฏิบัติงานเกินความจำเป็น - มีการปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการให้ทันต่อสถานการณ์ - ประชาชนได้รับความสะดวก และได้รับการตอบสนองความต้องการ - มีการประเมินผลการปฏิบัติราชการอย่างสม่ำเสมอ

GG&NPM Good Governance ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วย การบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี พศ 2542 08/04/60 1. หลักนิติธรรม หมายถึง การตรากฎหมายที่ถูกต้องเป็นธรรม การบังคับการให้เป็นไปตามกฎหมาย การกำหนดกฎ กติกา และการปฏิบัติตามกฎ กติกาที่ตกลงกันไว้อย่างเคร่งครัดโดยคำนึงถึงสิทธิ เสรีภาพ ความยุติธรรมของสมาชิก 2. หลักคุณธรรม หมายถึง การยึดมั่นในความถูกต้อง ดีงาม การส่งเสริมสนับสนุนให้ประชาชนพัฒนาตนเองไปพร้อมกัน เพื่อให้คนไทยมีความซื่อสัตย์ จริงใจ ขยัน อดทน มีระเบียบวินัย ประกอบอาชีพสุจริตจนเป็นนิสัยประจำชาติ 3. หลักความโปร่งใส หมายถึง การสร้างความไว้วางใจซึ่งกันและกันของคนในชาติ โดยปรับปรุงกลไกการทำงานขององค์กรทุกวงการให้มีความโปร่งใส 4. หลักความมีส่วนร่วม หมายถึง การเปิด โอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมรับรู้ และเสนอความเห็นในการตัดสินใจปัญหาสำคัญของประเทศไม่ว่าด้วยการแจ้งความเห็น การไต่สวนสาธารณะ การประชาพิจารณ์ การแสดงประชามติ หรืออื่น ๆ 5. หลักความรับผิดชอบ หมายถึง การตระหนักในสิทธิหน้าที่ความสำนึกในความรับผิดชอบต่อสังคม การใส่ใจปัญหาสาธารณะของบ้านเมือง และกระตือรือร้น ในการแก้ปัญหา ตลอดจนการเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง และความกล้าที่จะยอมรับ ผลดีและผลเสียจากการกระทำของตน 6. หลักความคุ้มค่า หมายถึง การบริหารจัดการและใช้ทรัพยากรที่มีจำกัด เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ส่วนรวม โดยรณรงค์ให้คนไทยมีความประหยัด ใช้ของอย่างคุ้มค่า สร้างสรรค์สินค้าและบริการที่มีคุณภาพสามารถแข่งขันได้ในเวทีโลก และรักษาพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติให้สมบูรณ์ยั่งยืน ยกเลิกแล้ว 9 เพ่ง บัวหอม 15

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550

วิสัยทัศน์ของระบบราชการไทยใน 5 ปีข้างหน้า GG&NPM 08/04/60 วิสัยทัศน์ของระบบราชการไทยใน 5 ปีข้างหน้า เพ่ง บัวหอม

ประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย GG&NPM 08/04/60 ประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ยกระดับการให้บริการและ การทำงานเพื่อตอบสนองความคาดหวังและความต้องการของประชาชนที่มีความสลับซํบซ้อนหลาก หลาย และเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 ปรับรูปแบบการทำงาน ให้มีลักษณะเชิงบูรณาการ เกิดการแสวงหาความร่วมมือ และสร้างเครือข่ายกับฝ่ายต่าง ๆ รวมทั้งเปิดให้ระชาชน เข้ามามีส่วนร่วม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 สร้างระบบการกำกับดูแลตนเองที่ดี เกิดความโปร่งใส มั่นใจและสามารถตรวจสอบได้ รวมทั้งทำให้บุคลากรปฏิบัติงานอย่างมีจิตสำนึกความรับผิดชอบต่อตนเอง ต่อประชาชน และต่อสังคมโดยรวม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 มุ่งสู่การเป็นองค์การที่มีขีดสมรรถนะสูงบุคลากรมีความพร้อมและความสามารถในการเรียนรู้คิดริเริ่มเปลี่ยนแปลง และปรับตัวได้อย่างเหมาะสม ต่อสถานการณ์ต่าง ๆ เพ่ง บัวหอม