วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง การประมาณค่า ครูสุชาฎา รถทอง โรงเรียนปทุมวิไล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คณิตคิดเร็วโดยใช้นิ้วมือ
Advertisements

สื่อการสอน เรื่องการบวก ลบ คูณ หาร ระคน
การบวก จำนวนเต็มบวก กับ จำนวนเต็มบวก
เลขฐานต่าง ๆ อ.มิ่งขวัญ กันจินะ.
Computer Programming 1 1.หากต้องการพิมพ์ให้ได้ผลลัพธ์ดังนี้ต้องเขียน code อย่างไร (ใช้for)
บทที่ 10 งบประมาณลงทุน.
บทที่2 การแจกแจงความถี่ (Frequency Distributions)
นวัตกรรมน่ารู้ นางสาวสินีนาฎ อุ่นใจเพื่อน
เรื่อง การคูณ สื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดย ครูเพ็ญพิมล สิทธิวรเกียรติ
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
LAB # 3 Computer Programming 1
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
ทศนิยมและเศษส่วน F M B N โดย นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช.
อสมการ.
ครูธีรพันธ์ ฝั้นเต็ม ครูชำนาญการพิเศษ ร.ร.แจ้ห่มวิทยา ลำปาง
บทที่ 1 อัตราส่วน.
บทที่ 3 ร้อยละ ร้อยละ หรือ เปอร์เซ็นต์ หมายถึง เศษส่วนหรืออัตราส่วนที่มีจำนวนหลังเป็น 100 เขียนแทนร้อยละ หรือเปอร์เซ็นต์ ด้วยสัญลักษณ์ %
NUMBER SYSTEM เลขฐานสิบ (Decimal Number) เลขฐานสอง (Binary Number)
ตัวดำเนินการ (Operator) คือสัญลักษณ์หรือเครื่องหมายแทนการกระทำกับข้อมูล เพื่อบอกให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทราบว่าจะต้องดำเนินการใดกับข้อมูลใดบ้าง แบ่งออกเป็น.
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
การหาค่ากำลังสองของเลขที่ลงท้ายด้วย 5
การหาค่ากำลังสองของเลขที่ลงท้ายด้วย 5
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
โดย...นางสาวทิพวรรณ สืบสมบัติ
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
หน่วยที่ นิพจน์ในภาษา C
เศษส่วน.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
การแจกแจงปกติ.
Mathematics Money
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่6
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.).
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
หลักสูตรสู่ความสำเร็จใน 90 วัน
เกม 4 ตัวเลือก นายธีรพงษ์ เค้าภูไทย เริ่มต้น.
คณิตศาสตร์ (ค33101) หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง สถิติ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
บทที่ 4 การวัดการกระจาย
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต อำเภอเมือง จังหวัด ภูเก็ต
ครูธีรพันธ์ ฝั้นเต็ม ครูชำนาญการพิเศษ ร.ร.แจ้ห่มวิทยา ลำปาง
จำนวนจริง จำนวนอตรรกยะ จำนวนตรรกยะ เศษส่วน จำนวนเต็ม จำนวนเต็มบวก
ใช้สำหรับการปฏิบัติงานตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2553 เป็นต้นไป
บทที่ 3 เลขยกกำลัง เนื้อหา ความหมายของเลขยกกำลัง
สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
กลุ่มงานทะเบียนประวัติและเครื่องราชอิสริยาภรณ์
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
และผลการทดสอบทางการศึกษา
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ภาวะราคาปาล์มน้ำมัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดชุมพร จังหวัดกระบี่
แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง การนำเสนอข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล คะแนนเต็ม 10 คะแนน.
เรื่อง ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 คณิตศาสตร์ ( ค 31101) กราฟและ การนำไปใช้
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สอนโดย ครูปพิชญา คนยืน.
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนที่ 7
สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง การประมาณค่า ครูสุชาฎา รถทอง โรงเรียนปทุมวิไล MATHEMATICS เรื่อง การประมาณค่า ครูสุชาฎา รถทอง MATHEMATICS ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนปทุมวิไล

ความหมาย การประมาณ คือ การหาค่าซึ่งไม่ใช่ค่าที่แท้จริง แต่มีความละเอียดเพียงพอกับการนำไปใช้ สัญลักษณ์การประมาณคือ

การประมาณค่า คือ การคำนวณที่ต้องการคำตอบอย่างรวดเร็ว ใกล้เคียงและเหมาะสมกับการนำไปใช้

ค่าประมาณ คือ ค่าที่ได้จากการประมาณ และการประมาณค่า

ตัวอย่าง รวม 100 บาท ซื้อสินค้า 3 รายการจากห้างสรรพสินค้า สินค้าชิ้นที่ 1 ราคา 23.75 บาท ประมาณเป็น 25 บาท สินค้าชิ้นที่ 2 ราคา 40.18 บาท ประมาณเป็น 40 บาท สินค้าชิ้นที่ 3 ราคา 34.58 บาท ประมาณเป็น 35 บาท รวม 100 บาท

สถานการณ์ในแต่ละข้อต่อไปนี้ ใช้ค่าประมาณได้หรือไม่ ไม่ได้ 1. คำนวณระยะเวลาที่ใช้ในการเดินทางโดยรถไฟ 2. การคำนวณส่วนผสมของสารเคมี ไม่ได้ ได้ 3. การคำนวณระยะเวลาในการส่งจรวด ได้ 4. การคำนวณส่วนผสมในการทำขนมกล้วย

วิธีในการประมาณค่า วิธีปัดเศษ 1. การปัดเศษเมื่อปริมาณเป็นจำนวนเต็ม 2. การปัดเศษเมื่อปริมาณเป็นทศนิยม

การปัดเศษเมื่อปริมาณเป็นจำนวนเต็ม ตัวอย่างที่ 1 ปัดเศษ 43 เป็นจำนวนเต็มสิบ ดังนั้น ปัดเศษ 43 เป็นจำนวนเต็มสิบได้ 40 ใช้เส้นจำนวน

การปัดเศษเมื่อปริมาณเป็นจำนวนเต็ม ตัวอย่างที่ 2 ปัดเศษ 281 เป็นจำนวนเต็มร้อย ใช้เส้นจำนวน ดังนั้น ปัดเศษ 281 เป็นจำนวนเต็มร้อยได้ 300

ตั้งแต่ 5 ขึ้นไปปัดขึ้น” ข้อสรุปในการปัดเศษ ในการปัดเศษจำนวนเต็มใดๆ ให้เป็นจำนวนเต็มสิบ จำนวนเต็มร้อย จำนวนเต็มพัน ฯลฯ ที่ใกล้เคียงที่สุด ให้พิจารณาปัดเศษจำนวนในหลักถัดไปทางขวามือ “ถ้าต่ำกว่า 5 ตัดทิ้ง ตั้งแต่ 5 ขึ้นไปปัดขึ้น”

การปัดเศษเมื่อปริมาณเป็นทศนิยม (1) 21.785 ปัดให้เป็นจำนวนเต็ม 7 มากกว่า 5 ปัดขึ้นไป 1 ดังนั้น 21.785 22 (2) 21.512 ปัดให้เป็นทศนิยมหนึ่งตำแหน่ง 1 น้อยกว่า 5 ตัดทิ้ง ดังนั้น 21.512 21.5

ปัดเศษของ 35,477 ให้เป็นจำนวนเต็มสิบ ดังนั้น 35,477 35,480 ถูก ผิด

จงหาค่าของจำนวนต่อไปนี้โดยวิธีการประมาณค่า ใช้วิธีการปัดเศษ (ปัดเป็นจำนวนเต็ม) 5 12.99 + 67.89 + 54.55 133 134 135 136

จงเลือกจำนวนในวงเล็บที่มีค่าใกล้เคียงที่สุดกับจำนวนที่กำหนดให้ (1) 72 ≈ ................ [70 ; 80] (2) 450 ≈ ................ [400 ; 500] (3) 52,965 ≈ ................ [50,000 ; 60,000] (4) 7.49 ≈ ................ [7 ; 8] (5) 0.86327 ≈ ................ [0.863 ; 0.864] <Keypad will appear here based on shape and location of this rectangle.>

จงเติมจุดทศนิยมของจำนวนที่เป็นโจทย์ในแต่ละข้อต่อไปนี้เพื่อให้ได้ค่าที่สอดคล้องกับคำตอบ (2) 7 9 7 - 4 0 1 = 3 9 . 6 (1) 4 8 2 + 7 3 8 = 4 8 . 9 4

> > < > < > < > < (1) 2,100 (2) 5 (3) จงเติมเครื่องหมาย > หรือ < ใน โดยใช้หลักการประมาณ (1) 2,100 (2) 5 (3) 111,122 + 233,412 344,500 (4) 896,321 - 132,925 763,400 > > < > < > < > <

<Scoreboard will appear here, leave shape as-is.>