ภายใต้กรอบแนวคิดการพัฒนาระบบข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจ ข้อเสนอโครงการ ภายใต้กรอบแนวคิดการพัฒนาระบบข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจ จัดทำโดย กรมทรัพยากรธรณี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ภารกิจ และอำนาจหน้าที่ กรมทรัพยากรธรณีมีภารกิจเกี่ยวกับการสงวน อนุรักษ์ ฟื้นฟูและ บริหารจัดการด้านธรณีวิทยาและทรัพยากรธรณี โดยการสำรวจ ตรวจสอบ สภาพธรณีวิทยาและทรัพยากรธรณี การประเมินศักยภาพแหล่งทรัพยากร ธรณี การกำหนด และกำกับดูแลเขตฟื้นที่สงวนและอนุรักษ์ทรัพยากรธรณี เพื่อการพัฒนาทรัพยากรธรณี คุณภาพชีวิต เศรษฐกิจ และสังคมอย่างยั่งยืน โดยมีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้ 1.เสนอความเห็นเพื่อการกำหนดพื้นที่และการจัดทำนโยบาย แผน การสงวน การอนุรักษ์ การฟื้นฟู และการบริหารจัดการด้าน ธรณีวิทยา ทรัพยากรธรณี ซากดึกดำบรรพ์ ธรณีวิทยาสิ่งแวดล้อม และธรณี พิบัติภัย 2.ดำเนินการตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองซากดึกดำบรรพ์ กฎหมายว่าด้วยแร่ในส่วนที่รับผิดชอบ และกฏหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง 3.เสนอให้มี ปรับปรุง หรือแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมาย ระเบียบ และ มาตรการเกี่ยวกับการ สงวน การอนุรักษ์ การฟื้นฟู และการบริหารจัดการ ด้านธรณีวิทยา ทรัพยากรธรณี ซากดึกดำบรรพ์ ธรณีวิทยาสิ่งแวดล้อม และ ธรณีพิบัติภัย รวมทั้ง กำกับ ดูแลประเมินผล ติดตามตรวจสอบให้เป็นไป ตามกฎหมาย ระเบียบและมาตรการ 4.ดำเนินการเกี่ยวกับการสำรวจ การตรวจสอบ การศึกษา การ วิจัย การพัฒนาองค์ความรู้การ ให้บริการข้อมูล การเผยแพร่ความรู้ การ บริการทางวิชาการ รวมทั้งประสานความร่วมมือกับต่างประเทศและ องค์การระหว่างประเทศในด้านธรณีวิทยา ทรัพยากรธรณี ซากดึกดำบรรพ์ ธรณีวิทยาสิ่งแวดล้อม และธรณีพิบัติภัย 5.กำหนดมาตรฐานทางธรณีวิทยา ทรัพยากรแร่ ซากดึกดำบรรพ์ ธรณีวิทยาสิ่งแวดล้อม และธรณีพิบัติภัยรวมทั้งรวบรวม จัดเก็บ และรักษา หลักฐานอ้างอิงทางธรณีวิทยา ทรัพยากรแร่และซากดึกดำบรรพ์ของ ประเทศ 6.ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของ กรม หรือตามที่รัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย 2
ขั้นตอนการรวบรวมข้อมูลแผนงาน โครงการ งบประมาณ แผนพัฒนาระบบฯ (N/C/D/I) พื้นที่ดำเนินการ (ระบบกลาง/ระบบเฉพาะหน่วย/ระบบในพื้นที่) เป้าหมาย วัตถุประสงค์ ผลลัพธ์ หากไม่มี ระบบที่มีอยู่เดิม กรมทรัพยากรธรณี ดำเนินการพัฒนาใหม่ ซ่อมบำรุง พัฒนาเพิ่ม พัฒนาใหม่ แผนงาน/โครงการ/งบประมาณ ติดตามและประเมินผล
กรอบการพัฒนาระบบข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจ N C D ปกติ วิกฤต พัฒนา อนุรักษ์ ซ่อมบำรุง บริหารจัดการ Water Budgeting, BI, DSS ศูนย์ฯ ข้อเสนอแนะ, BI, DSS, บริหารสถานการณ์ แผนระดับลุ่มน้ำ-ลุ่มน้ำย่อย ระบบจัดการงบประมาณ(KBMS) สงป. แผนการเพาะปลูก พลังงาน รักษานิเวศ ชป. กฟผ. ปม. แจ้งเตือน ศภช. อต. ปภ. แผนพัฒนาตามภารกิจ ซ่อมบำรุง ชป. ทน. คค. อุปโภค-บริโภค-อุตสาหกรรม กปภ. กปน. อก. อพยพ อปท. อนุรักษ์ ซ่อมบำรุง ปภ. อปท. วิเคราะห์และคาดการณ์ จำลองน้ำท่า ศูนย์ฯ ชป. กฟผ ความเสี่ยง จำลองเหตุการณ์ จำลองทางเลือก ประเมินความเสี่ยงและแนวโน้มในอนาคต คาดการณ์ฝนรายฤดูกาล อต. พยากรณ์ฝน พยากรณ์น้ำท่วม ชป. สสนก. ดัชนีชี้วัดเชิงระบบ และเชิงพื้นที่ สศช. สสช. - - ติดตาม และ เฝ้าระวัง สมดุลน้ำ รายงานรายสัปดาห์-เดือน สมดุลน้ำ เกณฑ์ ระบบรายงาน (Real-time) บริหารโครงการแบบรวมศูนย์ คุณภาพน้ำ รายงานสถานการณ์ คพ. อต. ชป. ทน. กฟผ. อศ. สทอภ. สสนก. คุณภาพน้ำ ระบบรายงาน (Real-time) คพ. อต. ชป. ทน. กฟผ. อศ. สทอภ. สสนก. คค. อก. วิเคราะห์เชิงระบบและเชิงพื้นที่ สำรวจข้อเท็จจริง/ ปัญหา สสช. รายงานสถานการณ์ กทม. ข้อมูลภัยจากพื้นที่ ปภ. กทม. สำรวจข้อเท็จจริง/ปัญหา โครงสร้างพื้นฐาน Data Exchange + Clearing House + วิเคราะห์เบื้องต้น + ให้บริการ มาตรฐาน กฎหมาย ระเบียบ เกณฑ์ สังคม ดัชนี ผังเมือง สศช. สงป. วสท. อาษา วช. สกว. สคก. สสช. ยผ. ศูนย์ข้อมูลกลาง +ศูนย์วิจัยฯ + ICT ข้อมูล + ระบบวิเคราะห์เบื้องต้น + Data Exchange ทุกหน่วย ศูนย์ปฏิบัติการตามภารกิจ + ICT ข้อมูล + ระบบแสดงผล + ระบบวิเคราะห์เบื้องต้น + ระบบบริหารน้ำของเมือง ศูนย์ปฏิบัติการท้องถิ่น + ICT 1 2 3 1 2 3 1 2 3 I 1 2 3 ระบบกลาง 1 ระบบเฉพาะหน่วย 2 ระบบในพื้นที่ 3
ระบบแม่ข่ายเพื่อการประเมินผลแบบจำลองดินถล่ม สรุปภาพรวมข้อเสนอแผนงาน โครงการ งบประมาณ ภายใต้แผนพัฒนาระบบข้อมูลภายใต้การวิจัยและพัฒนา ระบบแม่ข่ายเพื่อการประเมินผลแบบจำลองดินถล่ม 5
พัฒนา อนุรักษ์ ซ่อมบำรุง วิเคราะห์และคาดการณ์ ระบบที่มีอยู่เดิม N C D ปกติ วิกฤต พัฒนา อนุรักษ์ ซ่อมบำรุง บริหารจัดการ ยังไม่มีระบบ BI, DSS แผนการจัดตั้งอาสาสมัครเครือข่ายครอบคุลมพื้นที่ต้นน้ำ กลางน้ำ และท้ายน้ำ กรมทรัพยากรธรณี อบรมให้ความรู้ประชาชนเรื่องดินถล่ม สังเกตสิ่งบอกเหตุดินถล่ม อาสาสมัครเครือข่าย แผนการซักซ้อมแผนการเฝ้าระวังแจ้งเตือนภัยดินถล่ม ในพื้นที่เสี่ยงภัยสูง แนะนำการวัดปริมาณน้ำฝนเพื่อใช้แจ้งเตือน จัดเวรยามเฝ้าระวังที่ต้นน้ำ ประสานตรวจสอบสมาชิกเครือข่ายฯ วิเคราะห์และคาดการณ์ แผนที่แสดงพื้นที่ที่มีโอกาสเกิดดินถล่มประเทศไทย พื้นที่เสี่ยงภัยดินถล่ม รายอำเภอ ปรับปรุงแผนที่แสดงพื้นที่เสี่ยงภัยดินถล่ม ติดตามภาพถ่ายดาวเทียม เรดาร์ตรวจอากาศ อต. วัดปริมาณน้ำฝนอย่างต่อเนื่อง สามารถเข้าถึงข้อมูลจากแหล่งอื่นๆ เพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจ ติดตามข้อมูลน้ำฝน 24 ชม.และฝนสะสม อต. ,สสนก. ประสานเครือข่ายสังเกตสิ่งบอกเหตุดินถล่ม พัฒนาช่องทางการติดต่อประสานงานให้ครอบคลุม ติดตาม และ เฝ้าระวัง ประเมินสถานการณ์พื้นที่เสี่ยงภัยดินถล่ม การประเมินสถานการณ์พื้นที่เสี่ยงภัยดินถล่ม ได้ถึงระดับตำบล วัดปริมาณน้ำฝนอย่าง ต่อเนื่อง ออกประกาศแจ้งเฝ้าระวังดินถล่มรายอำเภอ การแจ้งข่าวสารการเตือนภัยให้ถึง ประชาชนในพื้นที่เสี่ยงภัย จัดเวรยามเฝ้าระวังที่ ต้นน้ำ ผู้นำชุมชนแจ้งเตือนภัยพร้อมอพยพไปที่ปลอดภัย กำหนดจุดปลอดภัยให้ครบทุกพื้นที่เป้าหมาย โครงสร้างพื้นฐาน - 1 2 3 1 2 3 1 2 3 I 1 2 ระบบกลาง 1 ระบบเฉพาะหน่วย ระบบในพื้นที่ 3 3 2
แผนงานพัฒนาเพิ่ม/พัฒนาใหม่ N C D ปกติ วิกฤต พัฒนา อนุรักษ์ ซ่อมบำรุง บริหารจัดการ พัฒนาระบบ BI, DSS พร้อมค่าใช้จ่ายบำรุงรักษา xxx ล้านบาท วิเคราะห์และคาดการณ์ ติดตาม และ เฝ้าระวัง แผนที่แสดงพื้นที่ที่มีโอกาสเกิดดินถล่มประเทศไทย กรมทรัพยากรธรณี พื้นที่เสี่ยงภัยดินถล่ม ระดับอำเภอ - แบบจำลองพื้นที่อ่อนไหวต่อการเกิดดินถล่มแบบพลวัติ กรมทรัพยากรธรณี, สสนก. พื้นที่เสี่ยงภัยดินถล่ม ระดับตำบล การประเมินสถานการณ์พื้นที่เสี่ยงภัยดินถล่ม ได้ถึง ระดับหมู่บ้าน แผนที่เสี่ยงภัยดินถล่ม แจ้งเตือนภัย แจ้งอพยพ ศภช. ,กรมทรัพยากรธรณี การแจ้งข่าวสารการเตือนภัยให้ถึงประชาชนในพื้นที่เสี่ยงภัย โครงสร้างพื้นฐาน ระบบเชื่อมโยงข้อมูลเพิ่มอีก 18 หน่วยงาน ระบบโครงสร้างพื้นฐาน ICT พร้อมค่าใช้จ่ายบำรุงรักษา 5 ล้านบาท 2 1 2 3 1 2 3 1 2 3 I 1 2 3 ระบบกลาง 1 ระบบเฉพาะหน่วย 2 ระบบในพื้นที่ 3
สรุปภาพรวมข้อเสนอแผนงาน โครงการ งบประมาณ หน่วย : ล้านบาท ประเภทงบรายจ่าย ปี2558 ปี2559 ปี2560 รวม งบลงทุน 5,000,000 - งบดำเนินงาน