การสร้างเครื่องมือและรวบรวมข้อมูลเพื่อจัดทำผลงานทางวิชาการ 2014 รองศาสตราจารย์ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
สำนักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา การประชุมปฏิบัติการนำเสนอและประเมินผลชุดการเรียนรู้ด้วยตนเอง (self - learning package) เพื่อบูรณาการจัดการเรียนการสอนสำหรับผู้เรียนกลุ่มเทียบโอน ผลการเรียนรู้และประสบการณ์ ระหว่างวันที่ 18 - 21 กันยายน 2557 ณ โรงแรมรอยัล พาวิลเลี่ยน หัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ดำเนินการโดย สำนักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
การเขียนรายงานการใช้ Contents 1 ผลงานทางวิชาการ 2 การสร้างเครื่องมือ ขั้นตอนการรวบรวมข้อมูล 3 4 การเขียนรายงานการใช้
มีตั๋วกันหรือยัง วุฒิบัตรเพื่อการแต่งตั้ง...ใบที่มีอายุ 5 ปี วุฒิบัตรเพื่อการส่งผลงานทางวิชาการ...ใบที่มีอายุ 1 ปี ครูสมัครเข้าพัฒนาตาม ว.3
ผลงานทางวิชาการ แผนการสอน (ครูชำนาญการ) เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้ เอกสารประกอบการเรียนการสอน เอกสารประกอบการสอน (ครู..ใช้กับผู้เรียน) เอกสารประกอบการเรียน (ผู้เรียน..เรียนรู้ได้ด้วยตนเอง) ตำรา,หนังสือ,งานวิจัย ชุดการเรียนรู้ด้วยตนเอง ฯลฯ
ขั้นตอนการรวบรวมผลงาน 1. การสร้างและพัฒนาผลงานวิชาการ 2. การประเมินผลงานโดยผู้เชี่ยวชาญ 3. ปรับปรุงผลงานทางวิชาการ 4. การนำไปใช้งาน 5. จัดทำรายงานการใช้ (รายงานวิจัย 5 บท) 6. เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ
ขั้นการวิเคราะห์ Analysis ขั้นการออกแบบ Design ADDIE ขั้นการวิเคราะห์ Analysis ขั้นการออกแบบ Design ขั้นการพัฒนา Development ขั้นการนำไปใช้ Implementation ขั้นการประเมินผล Evaluation
การเขียนรายงานการใช้นวัตกรรม
รูปแบบรางานวิจัย
ส่วนประกอบรายงานการวิจัย
บทนำ ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา วัตถุประสงค์การวิจัย สมมุติฐานการวิจัย ขอบเขตการวิจัย ตัวแปรที่ศึกษาวิจัย คำนิยมศัพท์เฉพาะ ประโยชน์ที่จะได้รับจาการวิจัย
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ข้อมูลรายวิชาที่วิจัย การอาชีวศึกษา ชุดการเรียนรู้ด้วยตนเอง อีเลินนิ่ง งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง สรุปเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
วิธีดำเนินการวิจัย การกำหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่าง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย การสร้างเครื่องมือวิจัย แบบแผนการทดลอง ขั้นตอนการทดลอง / การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
ผลการใช้งาน ตอนที่ 1 ผลการหาประสิทธิภาพของชุดการเรียนรู้ด้วยตนเองวิชา .................... ตอนที่ 2 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนจากชุดการเรียนรู้ด้วยตนเองวิชา .................... ตอนที่ 3 ผลการเปรียบเทียบระหว่างการสอนปกติกับชุดการเรียนรู้ด้วยตนเองวิชา . ตอนที่ 4 ความพึงพอใจของนักศึกษาที่เรียนจากชุดการเรียนรู้ด้วยตนเองวิชา - ข้อมูลเชิงคุณภาพ สัมภาษณ์ สังเกต ฟังความคิดเห็นกลุ่ม ฯลฯ - ข้อมูลจาก Moodle เวลาเข้า-ออก ระยะเวลาที่เรียน , เรียนนอกเวลา, ช่วงเวลาเรียน, จำนวนการคลิก, กิจกรรมที่นักเรียนนักศึกษาใช้ในชุดการเรียนรู้ด้วยเอง การบ้าน , อภิธานศัพท์ , วิกิ , เว็บบอร์ด , ห้องสนทนา
สรุป อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ สรุปผลการวิจัย อภิปรายผลการวิจัย ข้อเสนอแนะจากการวิจัย ข้อเสนอแนะสำหรับการวิจัยครั้งต่อไป
เป็นไปตามรูปแบบวิทยานิพนธ์ รายการอ้างอิง เป็นไปตามรูปแบบวิทยานิพนธ์ ตามรูปแบบของสำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ
ภาคผนวก ภาคผนวก ก รายชื่อผู้เชี่ยวชาญตรวจเครื่องมือวิจัย ภาคผนวก ก รายชื่อผู้เชี่ยวชาญตรวจเครื่องมือวิจัย ภาคผนวก ข ตัวอย่างข้อสอบ ภาคผนวก ค ผลการวิเคราะห์ข้อสอบ ภาคผนวก ง การออกแบบชุดการเรียนรู้ด้วยตนเอง ภาคผนวก จ ตัวอย่างหน้าจอภาพ ชุดการเรียนรู้ด้วยตนเอง /คู่มือชุดการเรียนรู้ด้วยตนเอง/ แผนการเรียนรู้ ภาคผนวก ฉ รูปภาพการใช้งานชุดการเรียนรู้ด้วยตนเอง ภาคผนวก ช ประวัติผู้วิจัย
รูปแบบการพิมพ์ A4 บน 1.5 นิ้ว หรือ 3.5 ซม. ซ้าย 1.5 นิ้ว หรือ 3.5 ซม. ล่าง 1 นิ้ว หรือ 2.5 ซม. ขวา 1 นิ้ว หรือ 2.5 ซม.
กรอบวิจัยและพัมนาแนวอาชีวศึกษา
บทสรุป การสร้างเครื่องมือและรวบรวมข้อมูลเป็นขั้นตอนการเขียนรายงานการใช้นวัตกรรม การประเมินผลชุดการเรียนรู้ด้วยตนเอง เป็นการประเมินคุณภาพเครื่องมือวิจัย เป็นส่วนหนึ่งของรายงานการใช้นวัตกรรม ผลการประเมินชุดการเรียนรู้ด้วยตนเอง นำไปขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการไม่ได้ ผลการพัฒนาผู้เรียนจากชุดการเรียนรู้ด้วยตนเอง คือหัวใจของผลงานทางวิชาการ
คำถาม
Thank you… 2014 รองศาสตราจารย์ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข ภาควิชาครุศาสตร์เทคโนโลยี คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ 081-7037515 prachyanunn@kmutnb.ac.th http://www.prachyanun.com