เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต และเครือข่าย เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต และเครือข่าย
Internet อินเทอร์เน็ต (Internet) มาจากคำว่า Inter Connection Network หมายถึง เครือข่ายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วยระบบต่างๆ เชื่อมโยงกันเสมือนใยแมงมุม ที่ครอบคลุมทั่วโลก ในแต่ละจุดที่เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตนั้น สามารถสื่อสารกันได้หลายเส้นทาง โดยไม่กำหนดตายตัว และไม่จำเป็นต้องไปตามเส้นทางโดยตรง อาจจะผ่านจุดอื่น ๆ หรือ เลือกไปเส้นทางอื่นได้หลาย ๆ เส้นทาง
ระบบอินเทอร์เน็ต คอมพิวเตอร์ทุกเครื่อง ทุกระบบ สามารถติดต่อสื่อสารกันได้
แล้วคอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์รู้จักกันได้อย่างไร ? 192.168.177.104 203.150.243.179 203.150.200.11 10.10.1.11
IP Address / Internet Address คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องบนอินเทอร์เน็ต ต้องมีหมายเลขประจำเครื่องเรียกว่า “หมายเลข IP (IP Address หรือ Internet Protocol Address)” เปรียบเสมือน “บ้านเลขที่” มีองค์กรที่ทำหน้าที่จัดสรรหมายเลข IP โดยเฉพาะ เรียกว่า - Internet Network Information Center (Inter NIC)
IP Address / Internet Address เขียนเป็นเลขฐานสิบ 4 ชุด แต่ละชุดคั่นด้วยเครื่องหมายจุด (dot) เลขฐานสอง 11111111.00000000.11111111.00000000 เลขฐานสิบ 255. 0.255.0
IP Address / Internet Address IP Address / Internet Address มาตรฐาน IP Address ปัจจุบันคือ version 4 หรือ IPv4 กำหนดให้ ip address มีทั้งหมด 32 bit หรือ 4 byte แต่ล่ะ byte จะถูกคั่นด้วยจุด (.) ภายในหมายเลข ถูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วนดังนี้ 1. Network Address หรือ Subnet Address 2. Host Address Class IP Address Network Address Host Address A w.x.y.z w x.y.z B w.x y.z C w.x.y z
IP Address / Internet Address ทำไมต้องแบ่งเป็น Class ต่าง ๆ เพื่ออะไร ? เพื่อความเป็นระเบียบ มีการจัด Class หรือ หมวดหมู่ของ IP Address ไว้ทั้งหมด 5 Class โดย Class ของ Address จะเป็นตัวกำหนดว่า Bit ใดบ้างใน หมายเลข IP Address ที่ต้องถูกใช้เพื่อ เป็น Network Address และ Bit ใดบ้าง ที่ต้องถูกใช้เป็น Host Address นอกจากนั้น Class ยังเป็นตัวกำหนดด้วยว่า จำนวนของ Network Segment ที่มีได้ใน Class นั้น ๆ มีเท่าไร และจำนวนของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สามารถมีได้ ภายใน Network Segment นั้น ๆ มีเท่าไร
IP Address / Internet Address หมายเลข IP สามารถแบ่งได้ 5 แบบ หรือ 5 Class ดังนี้ Class Range A 0.0.0.0 ถึง 127.255.255.255 B 128.0.0.0 ถึง 191.255.255.255 C 192.0.0.0 ถึง 223.255.255.255 D 224.0.0.0 ถึง 239.255.255.255 E 240.0.0.0 ถึง 247.255.255.255
IP Address / Internet Address IP address คือระบบการอ้างอิง การมีตัวตนอยู่ของคอมพิวเตอร์ โดยปกติเราแบ่ง IP address เป็น 2 แบบ 1. Public IP address (หรือ WAN IP address) คือ IP address ที่ใช้งานจริงมีการจดทะเบียนและเสียเงินเพื่อใช้งานจริงๆ มีการจดบันทึกในระบบว่า ใครใช้งาน IP อะไรในวงกว้าง ทำอะไรผิดระวัง IP address ไปโผล่บน Server 2. Private IP address (หรือ LAN IP address) คือ IP address ที่ใช้กันในเฉพาะระบบวงปิด เช่นใน Office หรือในบ้านที่มีคอมพิวเตอร์มากกว่า 1 เครื่อง IP ระบบนี้หากต้องการใช้กับ เครื่องนอกวงต้องใช้ อุปกรณ์ที่เรียกว่า NAT (Network Address Translator) จะทำการแปลข้อมูลจากวง LAN ไปออกภายนอก
IP Address / Internet Address IP Address ปัจจุบันที่ใช้ทั่วไปคือ IPv4 ซึ่งกำลังจะหมดไป สำหรับ IPv6 คือ IP รุ่นใหม่ที่จะเข้ามาแทนที่ IPv4 : ใช้ตัวเลขในช่วง 0.0.0.0 - 255.255.255.255 เพื่อนแทนอุปกรณ์ในเครือข่าย(internet) เช่น คอมพิวเตอร์ รถ มือถือ ตู้เย็น ฯลฯ IPv6 : ใช้ตัวเลขในช่วง 0.0.0.0.0.0 - 255.255.255.255.255.255 IPv4 สามารถรองรับอุปกรณ์ได้ 255x 255 x 255 x 255 = 4,228,250,625 แล้ว IPv6 จะสามารถรองรับอุปกรณ์ต่าง ๆ ได้ ?
DNS - Domain Name System DNS คือ ระบบการแปลงกลับไป กลับมาระหว่างชื่อโฮสต์ (Host) ให้เป็นหมายเลข IP คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์สื่อสารต่างๆ ในเครือข่ายอินเทอร์เน็ต จะมีหมายเลข IP ไม่ซ้ำกัน การติดต่อสื่อสารระหว่างเครื่องต่าง ๆ จะใช้หมายเลข IP เป็นหลัก หมายเลข IP จำยากกว่าการจำชื่อ จึงมีระบบ DNS เกิดขึ้นมา ชื่อโดเมนไม่ใช่ชื่อที่ถอดมาจากเลขไอพี
หลักการทำงานของ DNS
หลักการทำงานของ DNS 1 2 3 4 5 ขั้นตอนที่ ความหมาย / หน้าที่ client(ผู้ เล่น) ต้องการเข้า www.xyz.com เครื่อง client จะขอ IP Address ไปที่ DNS Server (ถ้าไม่พบ IP Address) จะขอ IP Address กับ DNS Server ในลำดับที่สูงกว่า เช่น ISP 2 DNS Server ของ ISP ค้นหา IP Address ต่อไป ถ้าไม่พบ ก็ต้องส่งต่อไปที Root Domain Server ที่ Root Domain Server ต้องเจอแน่นอนเพราะเป็นสถานที่สุดท้ายแล้ว 3 เมื่อ เจอก็จะได้ IP Address ของ www.xyz.com.com และแจ้งไปที่ Domain Server ของ ISP ทราบ และจัดเก็บไว้ด้วย 4 Domain Server ของ ISP ก็ส่งต่อไปที่ DNS Server ของ Client และแจ้ง IP Address ไปที่ client (ผู้เล่น) 5 เมื่อ client ได้ IP Address ของ www.xyz.com แล้ว ก็ติดต่อกับ IP Address ได้โดยตรง โดยการรับส่งข้อมูลจะใช้ protocal TCP
Name Server เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีซอฟต์แวร์ที่มีหน้าที่เก็บฐานข้อมูล สำหรับการแปลงชื่อโฮสต์ และหมายเลข IP แบ่งได้ 3 ประเภท คือ Primary Name Server เป็นเครื่องหลักที่เก็บข้อมูล Secondary Name Server Cache Name Server
DNS - Domain Name System
DNS - Domain Name System โดเมนที่มีตัวอักษร 3 ตัว เรียกว่า Generic domain ส่วนมากใช้ในประเทศสหรัฐอเมริกา com องค์กรธุรกิจ -- commercial edu สถาบันการศึกษา -- education gov หน่วยงานราชการ -- government int องค์กรระหว่างประเทศไทย -- international mil หน่วยงาน ทหาร -- military net ผู้ให้บริการเครือข่าย -- network org องค์กรอื่นๆ -- organization
DNS - Domain Name System โดเมนที่มีตัวอักษร 2 ตัว เรียกว่า Country domain เป็นตัวอักษรที่ใช้แทนประเทศต่างๆ th Thailand jp Japan sg Singapore au Australia
DNS - Domain Name System โดเมนทางขวาใหญ่กว่าโดเมนทางซ้าย ด้านซ้ายสุด => ชื่อคอมพิวเตอร์ ด้านขวาสุด => โดเมนระดับบนสุด (Top-level domain name) แต่ละโดเมนจะถูกเขียนคั่นด้วยจุด ( . ) แต่ละโดเมนจะมีผู้รับผิดชอบประจำโดเมน ชื่อโดเมนกับสถานที่ตั้งเครื่องไม่จำเป็นต้องสัมพันธ์กัน คอมพิวเตอร์ 1 เครื่องอาจมีได้หลายชื่อ
โปรโตคอล (Protocol) โปรโตคอล คือ ระเบียบ วิธีการ กฎ และข้อกำหนด ต่าง ๆ ในการดต่อสื่อสาร รวมถึงมาตรฐานที่ใช้เพื่อ ให้สามารถส่งผ่านข้อมูล ไปยังปลายทางได้อย่าง ถูกต้อง
โปรโตคอล (Protocol) (ต่อ) TCP/IP (Transmission Control Protocol/Internet Protocol) โปรโตคอลมาตรฐานที่ใช้ในการสื่อสารระหว่างเครื่อง คอมพิวเตอร์ที่แตกต่างกันใช้ระบบปฏิบัติการที่ต่างกันและอยู่ บนเครือข่ายที่ต่างกันให้สามารถสื่อสารกันผ่านทางเครือข่าย ได้โดย TCP/IP จะประกอบไปด้วยโปรโคตอล 2 ตัว TCP (Transmission Control Protocol) และ IP (Internet Protocol)
โปรโตคอล (Protocol) (ต่อ) HTTP (Hyper Text Transfer Protocol) โปรโตคอลที่ใช้ในการส่งเว็บเพจ (Web Page) ที่อยู่บนเครื่อง เซิร์ฟเวอร์มาให้เครื่องไคลเอ็นท์ที่ทำการร้องขอไปทำให้ผู้ใช้งาน สามารถท่องไปในเว็บไซต์ต่าง ๆ ทั่วโลกได้
โปรโตคอล (Protocol) (ต่อ) FTP (File Transfer Protocol ) โปรโตคอลที่ใช้ในการส่งโอนไฟล์ข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์โดยจะเรียก การโอนไฟล์จากเครื่องเซิร์ฟเวอร์มาที่เคลื่อนไคลเอ็นท์ว่า “Download” และ เรียกการโอนไฟล์จากเครื่องไคลเอ็นท์ไปไว้ที่เครื่องเซิร์ฟเวอร์ว่า “Upload”
โปรโตคอล (Protocol) (ต่อ) SMTP (Simple Mail Transport Protocol) โปรโตคอลที่ใช้ในการส่ง E-mail ไปยัง Mailbox ที่จุดหมาย ปลายทาง POP3 (Post Office Protocol – 3) โปรโตคอลที่ใช้ในการดึง E-mail จาก Maibox ของผู้ให้บริการ มาเก็บไว้ที่เครื่องตนเองเพื่อให้สะดวกต่อการจัดการับ E-Mail
Web Hosting คืออะไร ? รูปแบบการให้บริการที่อนุญาตให้ผู้ใช้บริการ สามารถนำเว็บเพจ รูปภาพ หรือ โปรแกรมต่าง ๆ มาเก็บไว้ที่เว็บเซิร์ฟเวอร์ (web server) ของผู้ให้บริการที่เชื่อมต่อกับอินเตอร์เน็ต ตลอด 24 ชั่วโมง ว็บโฮสนี้มีอีกชื่อหนึ่งว่า HSP ย่อมาจาก Hosting Service Provider หรือผู้ให้บริการโฮสติ้ง เป็นธุรกิจที่นำเอาเทคโนโลยีที่จำเป็นสำหรับงานสร้างเว็บไซต์ มาให้บริการ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้เว็บไซต์นั้นสามารถมองเห็นได้บนอินเตอร์เน็ต
Free Web Hosting www.freewebhostingarea.com www.justfree.com
LAB 1 ให้นิสิตทำการสมัครขอใช้พื้นที่กับฟรีเว็บโฮสติ้ง โดยให้ทำการเข้าไปสมัครที่ www.freewebhostingarea.com ให้กำหนดชื่อโดเมน ดังนี้ bsรหัสนิสิต.xp3.biz
www.freewebhostingarea.com
http://noadsbiz.freewebhostingarea.com/ftp/
http://kasem.xp3.biz/
END CHAPTER