การนิเทศการสอนแบบคลินิก

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กองก่อสร้างโครงการย่อย กองก่อสร้างโครงการกลาง กองก่อสร้างโครงการใหญ่
Advertisements

การใช้ชุดการสอนวิชาบัญชีเบื้องต้น 2 เรื่องการปรับปรุงบัญชี ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาพณิชยการ และการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
นายภิรักษ์ คำศรี ชื่อผลงานวิจัย : ชื่อผู้วิจัย :
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
อ. สิริพร มีนะนันทน์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา
มาตรฐานคุณภาพการสอน ของ คณะกรรมการแห่งชาติ ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพครู (The National Board for Professional Teaching Standards) วิกฤติอาชีพครู พัฒนาวิชาชีพครู
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.

การฝึกอบรมและพัฒนาพนักงานขาย
ชื่อเรื่อง ผลการใช้เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนวิชางานวัดละเอียดช่างยนต์ของนักศึกษาชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต์ โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสยาม ในพระอุปถัมภ์ฯ
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจกลุ่ม 821
ผู้วิจัย : นางธนิตา ขาวทอง วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยา สงขลา
วิธีการและเทคนิค การตรวจสอบ และการรายงาน ผลการตรวจสอบ ( Auditing )

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
การพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบ รายบุคคลทางการคำนวณและ การใช้สูตรฟังชั่นอย่างง่ายโดย โปรแกรม Microsoft Excel ในวิชาคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ เพื่องานอาชีพ ผู้วิจัย.
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 39 สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน 16 พฤษภาคม 2558 ณ โรงแรมน่านเจ้า จังหวัดพิษณุโลก การประชุมชี้แจง เรื่อง.
ประชิด เกิดมาก ผู้วิจัย. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียน การสอนด้วยจิกซอว์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียน.
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชาการจัดเก็บเอกสารของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 ที่ใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ ร่วมมือ เทคนิคจิ๊กซอว์กับการสอนแบบปกติ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ความพึงพอใจต่อการบริหาร จัดการโครงการเรียนรู้จาก ประสบการณ์จริงด้วยวิธีการ เรียนรู้แบบศึกษาดูงาน บริหารธุรกิจสาขาการจัดการ / การตลาด ภาคเรียนที่ 2/2556.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
ชุมชนปลอดภัย.
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
โดย อาจารย์เสาวณีย์ พุ่มท้วม
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
ทำการวิจัยโดย นางรุ่งนภา ทินช่วย
ชื่อผู้วิจัย นางสาวศุวรีย์ จำปามูล
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
      วิจัย เรื่อง การประเมินผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน ของสำนักงานประกันคุณภาพและงานวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการอยุธยา ปีการศึกษา 2556.
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
การพัฒนาบุคลิกภาพด้านการแสดงออกของผู้เรียน
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
นางนพรัตน์ สุวรรณโณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยาสงขลา
สอนโดย : อาจารย์กุสุมา ยกชู
กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้สำเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์ของบุคคลหลายท่านซึ่งไม่สามารถกล่าวไว้ในที่นี้ได้ทั้งหมดทุกท่าน ซึ่งท่านแรก ผู้จัดทำต้องขอขอบคุณ.
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
การใช้ชุดฝึกปฏิบัติ เพื่อพัฒนาการอ่านออกเสียงเสียงท้าย - ts , st
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
นายเกียรติศักดิ์ คนธสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
การสอนควบคู่กับการเรียน
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การนิเทศการสอนแบบคลินิก นางสาวดุจดวงดาว จินดาวิทยา วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี

การนิเทศการสอนแบบคลินิก ความสำคัญและความเป็นมา ที่ผ่านมาการนิเทศการสอนภายในวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี ยังไม่ต่อเนื่อง โดยเฉพาะการให้คำแนะนำหลังการสังเกตการสอนในชั้นเรียน ซึ่งผู้นิเทศจะทำการสังเกตการสอน และ ให้คำแนะนำในลักษณะสั่งการให้ครูนำไปปฏิบัติ ไม่มีการให้ผู้รับการนิเทศได้ร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วมปฏิบัติ ร่วมประเมินผล ตลอดจนร่วมกันปรับปรุงแก้ไข บุคลากรในวิทยาลัยมีทัศนคติที่ไม่ดีต่อการนิเทศการสอน มองว่าการนิเทศการสอนเป็นการจับผิด ส่งผลให้การนิเทศการสอน ไม่ประสบผลสำเร็จเท่าที่ควร กล่าวคือการดำเนินงานนิเทศการสอนยังไม่ส่งผลต่อคุณภาพของนักเรียนตามเป้าหมายที่กำหนด จากสภาพดังกล่าวน่าจะสามารถแก้ปัญหาได้ด้วยการนำการนิเทศการสอนรูปแบบหนึ่งมาทดลองใช้ ซึ่งการนิเทศดังกล่าวนี้ เป็นการนิเทศแบบร่วมมือกัน ลักษณะสำคัญของการนิเทศในรูปแบบนี้ คือ ครู กับ ผู้นิเทศจะสร้าง ความสัมพันธ์กันโดยตรง เพื่อให้เกิดความเชื่อมั่น ความจริงใจและ ความไว้วางใจต่อกัน

การนิเทศการสอนแบบคลินิก ความสำคัญและความเป็นมา มีการให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกันของผู้ที่ประสบปัญหาโดยตรง หรือระหว่างผู้ประสบปัญหากับผู้ที่มีความสามารถเชี่ยวชาญด้านหนึ่งด้านใดเป็นพิเศษ มีการช่วยเหลือปรับปรุงพัฒนางาน มีความเป็นประชาธิปไตยในการนิเทศ ผู้รับการนิเทศเป็นศูนย์กลางการนิเทศ ประเด็นในการนิเทศเกิดจากปัญหาและความต้องการของครูผู้รับการนิเทศ เป็นกระบวนการนิเทศการสอนที่ส่งเสริมให้ครูผู้รับการนิเทศสามารถวิเคราะห์ พฤติกรรมการสอน และปรับปรุงการเรียนการสอนด้วยตนเอง อันจะนำไปสู่จุดมุ่งหมายปลายทางในการพึ่งพาตนเองได้ผู้วิจัยพบว่าครูผู้สอนวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี มีความประสงค์ที่จะพัฒนาการจัดการเรียน การสอนของตนเอง และสมัครใจที่จะร่วมมือสำหรับการนิเทศ แบบคลินิกกับเพื่อให้ครูผู้สอนมีการพัฒนาเทคนิควิธีการสอน เพื่อให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ที่ดีขึ้น

การนิเทศการสอนแบบคลินิก วัตถุประสงค์ ในการวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยได้ตั้งความมุ่งหมายไว้ดังนี้ 1. เพื่อศึกษาการพัฒนาพฤติกรรมการสอนของครูรายบุคคล วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม บริหารธุรกิจ นนทบุรี โดยประยุกต์ใช้การนิเทศแบบคลินิก 2. เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมการสอนของครูรายบุคคล วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม บริหารธุรกิจ นนทบุรี ระหว่างก่อนกับหลังการได้รับการนิเทศการสอนโดยประยุกต์ใช้ การนิเทศแบบคลินิก

การนิเทศการสอนแบบคลินิก กรอบแนวคิดในการวิจัย การนิเทศการสอนโดยประยุกต์ใช้การนิเทศแบบคลินิก 1. การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างกับครูและผู้นิเทศ 2. การวางแผนร่วมกันกับครูเพื่อหาแนวทางแก้ปัญหาก่อนเข้าสังเกตการสอน 3. การสังเกตการสอนในห้องเรียน 4. การวิเคราะห์ผลจากข้อมูลเพื่อประเมินพฤติกรรมการสอน 5. การประชุมหลังการสังเกตการสอนเพื่อให้ข้อมูลป้อนกลับ 6. การทบทวนขั้นตอนทั้ง 5 ข้างต้นในการปฏิบัติ พฤติกรรมการสอนของครู   1. ความสามารถในการควบคุมชั้นเรียนและดูแลระเบียบวินัย 2. ความสามารถในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 3. ความสามารถในการสร้างและใช้สื่อการสอน 4. พฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียน

การนิเทศการสอนแบบคลินิก ระเบียบวิธีวิจัย การวิจัยครั้งนี้เป็นวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) โดยมุ่งพัฒนาพฤติกรรมการสอนของครูรายบุคคล วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี โดยประยุกต์ใช้การนิเทศแบบคลินิก เพื่อส่งเสริมให้ครูมีการพัฒนากระบวนจัดการเรียนการสอน และเพื่อให้การวิจัยเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ ผู้วิจัยจึงมีวิธีดำเนินงานตามลำดับขั้นตอนในรายละเอียดดังนี้ ประชากร ครูผู้สอนในวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 จำนวน 109 คน การเลือกกลุ่มตัวอย่าง ครูผู้สอนในวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 ที่ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย (Simple random sampling) จำนวน 30 คน

การนิเทศการสอนแบบคลินิก ตัวแปรที่ศึกษา ตัวแปรอิสระ การศึกษากระบวนการเรียนการสอนด้วยการนิเทศการสอนโดยประยุกต์ใช้การนิเทศแบบคลินิก เพื่อช่วยในการแก้ไขพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอน และพฤติกรรมในการเรียนของผู้เรียนที่เป็นความกังวลของครูวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี โดยประยุกต์ใช้การนิเทศแบบคลินิกเพื่อปรับปรุงแก้ไขและพัฒนาประสิทธิภาพการเรียนการสอนให้เป็นไปตามแนวทางปฏิรูปกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ตัวแปรตาม คือ พฤติกรรมการสอนของครูที่ได้รับจากการนิเทศ จะเกิดการเปลี่ยนแปลงและสร้างความพึงพอใจให้กับนักเรียน

การนิเทศการสอนแบบคลินิก สรุปผลการวิจัย อาจารย์ผู้นิเทศ : ปัญหาที่พบในการประชุมครั้งแรกมีปัญหาอะไรบ้างหรือไหม ต้องการให้ช่วยเหลืออะไรบ้าง อาจารย์ผู้สอน : อาจารย์สอนไม่สบายใจ ในเรื่องของการควบคุมชั้นเรียน เนื่องจากผู้บริหารเดินไปพบแล้วไม่สามารถควบคุมชั้นเรียนได้ อาจารย์นิเทศ : นอกจากนี้มีปัญหาอะไรอีกหรือไม่ อาจารย์ผู้สอน : ไม่ยอมตอบ อาจารย์นิเทศ : ต้องหาวิธีการพุดคุยเพื่ออาจารย์ผู้สอนเกิด ความสบายใจเพื่อจะได้หาแนวทางในการแก้ไข อาจารย์ผู้นิเทศกล่าวว่า : การนิเทศการสอนอย่างจริงจังเป็นระบบอย่างต่อเนื่อง มีความเข้าใจการนิเทศการสอนว่าเป็นการช่วยเหลือและแนะนำครูในการปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน ครูมีความพร้อมที่จะรับการนิเทศการสอนตามแผนปฏิบัติงาน

การนิเทศการสอนแบบคลินิก สรุปผลการวิจัย ระดับคะแนนการนิเทศ ขั้นตอนที่ 1 การประชุมปรึกษาก่อนการสังเกตการสอน ก่อนการ นิเทศแบบคลินิกมีค่าเฉลี่ย 2.16 คิดเป็นร้อยละ 54.00 ระดับคะแนนหลังการนิเทศแบบคลินิกมีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 2.98 คิดเป็นร้อยละ 74.50 และคะแนนหลังการนิเทศแบบคลินิกเพิ่มขึ้นมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 0.82 คิดเป็นร้อยละ 20.50 ซึ่งแสดงให้เห็นว่า การนิเทศแบบคลินิก ขั้นตอนที่ 1 การประชุมปรึกษาหารือก่อน การสังเกตการสอนดีขึ้น

การนิเทศการสอนแบบคลินิก สรุปผลการวิจัย จากการประชุมวิเคราะห์หลังการนิเทศ เป็นขั้นตอนที่เกี่ยวกับการประเมินกระบวนการนิเทศ การหาเทคนิคและวิธีการเพื่อความเหมาะสมใหม่ ๆ จากการปฏิบัติ พบว่า ผู้นิเทศให้การนิเทศในลักษณะที่เป็นการนิเทศทางอ้อม คือ พูดสนับสนุนให้กำลังใจ ใช้คำถามที่ช่วยคลี่คลายคำพูดให้กระจ่างชัดเจนขึ้น ยอมรับในความคิดเห็นของครูผู้สอน มีการยกย่อง ชมเชย แต่บางครั้งก็ยังมีการใช้คำพูดในลักษณะที่ให้คำแนะนำโดยตรงอยู่บ้าง ซึ่งก็ไม่ทำให้เสียบรรยากาศของการนิเทศ เพราะเป็นการแนะนำในด้านทฤษฎีและหลักการสอนที่ครูยังไม่ค่อยจะเข้าใจ ซึ่งครูผู้สอนที่รับการนิเทศมีความพอใจค่อนข้างมาก

การนิเทศการสอนแบบคลินิก ข้อเสนอแนะ ก่อนที่จะพัฒนาการเรียนการสอนของครูโดยกระบวนการนิเทศแบบคลินิก ให้เกิดประสิทธิภาพและบรรลุผลตามวัตถุประสงค์นั้นสิ่งควรนำไปพิจารณาก่อนการปฏิบัติ คือ 1. หัวหน้างานนิเทศควรมีการประชุมชี้แจงหลักการในการนิเทศเพื่อเป็นการให้ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับนิเทศแบบคลินิกโดยละเอียดแก่ผู้นิเทศและครูผู้สอนโดยทั่วกันเสียก่อนเพื่อให้เกิดการยอมรับจากนั้นจึงดำเนินการฝึกอบรมผู้ที่จะทำหน้าที่เป็นผู้นิเทศแบบคลินิกให้มีทักษะประสบการณ์และเชี่ยวชาญในการนิเทศเป็นอย่างดี 2. ควรเชิญวิทยากรที่มีความรู้ความสามารถมาให้ความรู้ และประสบการณ์แก่ครูเพื่อนำไปพัฒนาการจัดการเรียน การสอนของครูหรือควรจะมีการชี้แนะแหล่งการเรียนรู้ เกี่ยวกับการนิเทศแบบคลินิกเพื่อสร้างความเข้าใจเบื้องตน จะได้ปฏิบัติตนได้ถูกต้อง

การนิเทศการสอนแบบคลินิก ข้อเสนอแนะ 3. ควรให้ความรู้เกี่ยวกับการนิเทศแต่ละแบบในการนิเทศให้เข้าใจอย่างละเอียดถ่องแท้แล้วให้ครู เลือกความต้องการที่จะใช้แบบนิเทศจะเป็นผลดีแก่ครูผู้สอนมากกว่าการถูกกำหนดเองจากหัวหน้างานนิเทศ