กองทุนระบบหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ตำบลวังหิน ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการพัฒนาการดำเนินงานและประสานงานระบบหลักประกันสุขภาพ อำเภอหนองสองห้อง
ที่ตั้งกองทุนระบบหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น หรือพื้นที่ตำบลวังหิน ข้อมูลทั่วไป ที่ตั้งกองทุนระบบหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น หรือพื้นที่ตำบลวังหิน ตั้งอยู่ที่ องค์การบริหารส่วนตำบลวังหิน 146 หมู่ที่ 2 ตำบลวังหิน อำเภอหนองสองห้อง จังหวัดขอนแก่น อยู่ห่างจากอำเภอฯ ไปทางทิศเหนือเป็นระยะทางประมาณ 25 กิโลเมตร
เขตการปกครอง แบ่งออกเป็น 8 หมู่บ้าน คือ แบ่งออกเป็น 8 หมู่บ้าน คือ หมู่ที่ 1 บ้านวังหิน (นายสุภาพ นามลิวัน) กำนันตำบลวังหิน หมู่ที่ 2 บ้านวังทอง (นายบุญชู สุดน้อย) ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 3 บ้านหนองศาลา (นายคำผล อดใจ) ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 4 บ้านหนองคลองน้อย (นายเกรียงศักดิ์ แย้มศรี) ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 5 บ้านหนองทุ่ม (นายขจรเกียรติ พงษา) ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 6 บ้านหลักด่าน (นายเฉลา ชัยนา) ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 7 บ้านหนองเสี้ยว (นายมงคล ทุมสิงห์) ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 8 บ้านหนองยาง (นายแปง สมอคำ) ผู้ใหญ่บ้าน
อาณาเขต ทิศเหนือ ติดกับ ต.บ้านหัน อ.โนนศิลา / ต.ป่าปอ อ.บ้านไผ่ ทิศตะวันออก ติดกับ ต.วังม่วง อ.เปือยน้อย/ ต.คึมชาด อ.หนองสองห้อง ทิศตะวันตก ติดกับ ต.โจดหนองแก อ.พล ทิศใต้ ติดกับ ต.โสกนกเต็น อ.พล / ต.สำโรง อ.หนองสองห้อง
ประชากร / หน่วยงานราชการในพื้นที่ ประชากร จำนวน 4,661 คน ชาย จำนวน 2,357 คน หญิง จำนวน 2,304 คน จำนวนครัวเรือน 1,112 ครัวเรือน
คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่ ตำบลวังหิน 1. นายบุญถม ศรีษะนาราช ประธานกรรมการ 2. นายเม็ง แก้วพรม รองประธาน 3. นายทองอินทร์ แสนโน รองประธาน 4. นายส่วน ชัยพระอินทร์ กรรมการ 5. นายทองคำ พรมลับ กรรมการ 6. นายทองทวี พันธ์ใหญ่ กรรมการ 7. นายลำ พาที กรรมการ 8. นายแสวง ลุนสำโรง กรรมการ
คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่ ตำบลวังหิน (ต่อ) คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่ ตำบลวังหิน (ต่อ) 9. นายสุภาพ นามลิวัน กรรมการ 10. นายเกรียงศักดิ์ แย้มศรี กรรมการ 11. นายแปง สมอคำ กรรมการ 12. นายเฉลา ชัยนา กรรมการ 13. นายขจรเกียรติ พงษา กรรมการ 14. นายไสว สมอแข็ง กรรมการ 15. นายผดุงศักดิ์ สุขเพีย กรรมการ/เลขานุการ
การจัดตั้งกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ตามบันทึกข้อตกลง [ MOU] ได้จัดทำข้อตกลงนี้ขึ้น เมื่อวันที่ 15 ตุลาคม 2552 ระหว่างสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ โดย ผู้อำนวยการสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 7 ขอนแก่น และองค์การบริหารส่วนตำบลวังหิน โดย นางสุพิศ เพ็ชรน้อย นายกองค์การบริหารส่วนตำบลวังหิน
ก. การบริหารจัดการกองทุน ข. การมีส่วนร่วม ค. การสร้างนวัตกรรม แบบประเมินการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ตำบลวังหิน หมวดการประเมิน ก. การบริหารจัดการกองทุน ข. การมีส่วนร่วม ค. การสร้างนวัตกรรม
1.ศักยภาพของคณะกรรมการบริหารกองทุน 1.1.กรรมการมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องวัตถุประสงค์กลุ่มเป้าหมายที่ต้องดูแล พร้อมมีอำนาจหน้าที่ในการใช้จ่ายงบประมาณใน 4 หมวดกิจกรรม
แสดงกระบวนการพิจารณาสนับสนุนกิจกรรมของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น หรือพื้นที่ตำบลวังหิน 25% 30% 35% 10 %
1.2.กรรมการผ่านการอบรม หรือประชุม หรือสัมมนา หรือเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้
เวทีประชาคมหมู่บ้านเพื่อจัดทำแผนพัฒนา 3 ปี กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.วังหิน ได้ร่วมประชาคม และได้ประชาสัมพันธ์กิจกรรมการดำเนินงาน ของปี 2556 และประชาสัมพันธ์แผนงานโครงการในปี 2557
1.3. การประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนมีกรรมการเข้าร่วมประชุมอย่างน้อย 80 % ของทุกครั้ง คิดเป็นร้อยละ 14 x 100 = 93.34 % 15
การประชุมกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลวังหิน ณ ห้องประชุม อบต.วังหิน
ประเมินตนเองได้คะแนน 78 คะแนน 1.4 มีการประเมินผลการบริหารจัดการกองทุนอย่างน้อยตามแบบ ประเมินที่กำหนดเพื่อการพัฒนากองทุน แบบประเมินการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ตำบลวังหิน ประเมินตนเองได้คะแนน 78 คะแนน ได้เกรด A
2.1. มีการจัดทำระเบียบข้อบังคับของกองทุน - มีระเบียบข้อบังคับของกองทุนฯ
2.2. มีรายงานการประชุมที่มีมติการอนุมัติแผนงาน/โครงการครบ รายการประชุมกองทุนฯ ครั้งที่ 2 /2557 วันที่ 17 มีนาคม 2557 (5 โครงการ) รายการประชุมกองทุนฯ ครั้งที่ 3 /2557 วันที่ 25 กรกฎาคม 2557 (1 โครงการ) ************ 1. มีการเสนอแผนงานโครงการ 2. มีการอนุมัติแผนโครงการกิจกรรมหมวดที่ 1 -3 ปี 2557
2.3.กิจกรรมหมวด 1-3 มีโครงการรองรับและทุกโครงการมีการทำบันทึกข้อตกลง และมีหลักฐานการรับ-จ่ายเงิน 1.มีบันทึกข้อตกลง 2.มีใบสำคัญรับเงิน 3.มีบันทึกรายงานขอซื้อ-จ้าง
รายงานการประชุม กิจกรรมหมวด 4 2.4.กิจกรรมหมวด 4 (การบริหารจัดการกองทุน) มีบันทึกมติกรรมการใช้จ่ายเงินตามระเบียบข้อบังคับของกองทุนมีหลักฐานการรับ-จ่ายเงิน รายงานการประชุม กิจกรรมหมวด 4 ---------- 1. มีหลักฐานการรับ – จ่ายเงิน 2. ค่าใช้จ่ายในแต่ละปีต้องไม่เกินร้อยละ 10
- ทุกโครงการสอดคลองกับวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ 2.5.ไม่มีโครงการที่ไม่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์หรือข้อห้ามในการใช้จ่ายเงินของกองทุนฯ - ทุกโครงการสอดคลองกับวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
ข้อ 3. ระบบควบคุมตรวจสอบ ติดตาม และประเมินผล 3. 1 ข้อ 3. ระบบควบคุมตรวจสอบ ติดตาม และประเมินผล 3.1. มีการรายงานด้านการเงินต่อคณะกรรมการอย่างน้อยทุกไตรมาส ไตรมาสที่ 1 - 2
ไตรมาสที่ 3 - 4 ข้อ 3. ระบบควบคุมตรวจสอบ ติดตาม และประเมินผล ข้อ 3. ระบบควบคุมตรวจสอบ ติดตาม และประเมินผล 3.1. มีการรายงานด้านการเงินต่อคณะกรรมการอย่างน้อยทุกไตรมาส ไตรมาสที่ 3 - 4
จะดูในหนังสือเชิญประชุมทุกครั้งจะมีเรื่องของการติดตามโครงการที่ผ่านมา ข้อ 3. ระบบควบคุมตรวจสอบ ติดตาม และประเมินผล 3.2. มีการติดตามการดำเนินโครงการ จะดูในหนังสือเชิญประชุมทุกครั้งจะมีเรื่องของการติดตามโครงการที่ผ่านมา
3.3.มีการรายงานผลการดำเนินงานของแต่ละโครงการเมื่อสิ้นสุดโครงการ
ข้อ 4 ผลการดำเนินงานของกองกองทุนในหมวด กิจกรรม 4 ประเภท กองทุนระบบหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ตำบลวังหิน ปี 2557
ข้อ 4.1. มีผลการดำเนินงานตามหมวดกิจกรรม ครบทั้ง 4 หมวด ดังนี้
ประเภทที่ 1 จัดบริการสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรคและฟื้นฟูสมรรถภาพตามชุดสิทธิประโยชน์ มี 1 โครงการ 1.โครงการตำบลร่วมใจใส่ใจอนามัยการเจริญพันธุ์
ประเภทที่ 1 จัดบริการสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรคและฟื้นฟูสมรรถภาพตามชุดสิทธิประโยชน์ 1.โครงการตำบลร่วมใจใส่ใจอนามัยการเจริญพันธุ์
ประเภทที่ 2 สนับสนุนงบประมาณแก่หน่วยบริการสาธารณสุข จำนวน 3 โครงการ 1.โครงการส่งเสริมสุขภาพสตรีโดยการตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม 2. โครงการคัดกรองความเสี่ยงกลุ่มสิทธิ UC 15 ปีขึ้นไป 3.โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคกลุ่ม Metabolic
ประเภทที่ 2 สนับสนุนงบประมาณแก่หน่วยบริการสาธารณสุข 1) ประเภทที่ 2 สนับสนุนงบประมาณแก่หน่วยบริการสาธารณสุข 1).โครงการส่งเสริมสุขภาพสตรีโดยการตรวจมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านม
ประเภทที่ 2 สนับสนุนงบประมาณแก่หน่วยบริการสาธารณสุข 2. โครงการคัดกรองความเสี่ยงกลุ่มสิทธิ UC 15 ปีขึ้นไป
ประเภทที่ 2 สนับสนุนงบประมาณแก่หน่วยบริการสาธารณสุข 3. โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคกลุ่ม Metabolic
ประเภทที่ 3 สนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพโดยประชาชน และชุมชนท้องถิ่น จำนวน 2 โครงการ 1. โครงการเกษตรปลอดโรค ผู้บริโภคปลดภัย สมุนไพรล้างพิษ กายจิตผ่องใส 2. โครงการหมู่บ้านปลอดลูกน้ำยุงลายโดยวิธีทางชีวภาพและกายภาพแบบชุมชนมีส่วนร่วม
ประเภทที่ 3 สนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพโดยประชาชน และชุมชนท้องถิ่น 1. โครงการเกษตรปลอดโรค ผู้บริโภคปลดภัย สมุนไพรล้างพิษ กายจิตผ่องใส
ประเภทที่ 3 สนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพโดยประชาชนและชุมชนท้องถิ่น 2. โครงการหมู่บ้านปลอดลูกน้ำยุงลายโดยวิธีทางชีวภาพและกายภาพแบบชุมชนมีส่วนร่วม
ณ ห้องประชุมองค์การบริหารส่วนตำบลวังหิน ประเภทที่ 4 การบริหารกองทุน การพัฒนาศักยภาพกรรมการ และการพัฒนาระบบบริหารจัดการ ณ ห้องประชุมองค์การบริหารส่วนตำบลวังหิน
ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลวังหิน - ครั้งที่ 1/2557 24 กุมภาพันธ์ 2557 - ครั้งที่ 2/2557 17 มีนาคม 2557 - ครั้งที่ 3/2557 25 กรกฎาคม 2557 - ครั้งที่ 4/2557 29 สิงหาคม 2557
ข้อ 4.2. มีการรายงานการใช้จ่ายเงินตามกิจกรรม /โครงการครบถ้วนและถูกต้องอย่างน้อยทุกไตรมาส ใน website สปสช. ครบทุกไตรมาส
ข้อ 4.2. ระบบควบคุมตรวจสอบ ติดตาม และประเมินผล มีเงินในบัญชี ตรงกับเงินตามไตรมาส ไตรมาสที่ 1 - 2
ไตรมาสที่ 3 - 4 ข้อ 4.2. ระบบควบคุมตรวจสอบ ติดตาม และประเมินผล ข้อ 4.2. ระบบควบคุมตรวจสอบ ติดตาม และประเมินผล - มีเงินในบัญชี ตรงกับเงินในไตรมาส ไตรมาสที่ 3 - 4
ร้อยละของค่าใช้จ่าย 275,572 x 100 = 80.48 % 4.3.การใช้จ่ายงบประมาณอย่างน้อย 50 % ของเงินในบัญชีทั้งหมดในปีงบประมาณ 2557 เงินทั้งหมดปี 2557 ค่าใช้จ่าย จากไตรมาสที่ 4 หมายเหตุ ยอดยกมา 69,559.64.- สปสช. 194,895.- อบต.วังหิน 77,958.- รวม 342,412.64 275,572.- ร้อยละของค่าใช้จ่าย 275,572 x 100 = 80.48 % เงินทั้งหมด 342,412.64
มี 4 แผนงาน นำไปใช้ 3 แผนงาน ข้อ 5. การนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์หรือแผนสุขภาพชุมชนมาใช้ในการบริหารจัดการกองทุน โครงการสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฯ นำไปปฏิบัติ มี 4 แผนงาน 1.ไข้เลือดออก 2.วัยรุ่นวัยเรียน 3.อาหารปลอดภัย 4.เบาหวาน ความดันโลหิตสูง นำไปใช้ 3 แผนงาน 1.โครงการหมู่บ้านปลอดลูกน้ำยุงลายโดยวิธีชีวภาพฯ (อยู่ในไข้เลือดออก) 2. โครงการตำบลร่วมใจใส่ใจอนามัยการเจริญพันธุ์ (วัยรุ่นวัยเรียน) 3. โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคกลุ่ม Mataboolic (อยู่ในเบาหวาน ความดันโลหิตสูง)
หมวด การประเมิน ข. การมีส่วนร่วม หมวด การประเมิน ข. การมีส่วนร่วม ข้อ 1 การคัดเลือกและการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการกองทุน 1.1.คณะกรรมการผ่านการคัดเลือกตามประกาศ สปสช. 1.รายงานการประชุมฉบับที่เกี่ยวข้องกันการแต่งตั้งคณะกรรมการ ครั้งที่ 1/2557 ในวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2557 2. รายงานผลการคัดเลือกคณะกรรมการบริหารระบบหลักประกันสุขภาพตำบลวังหิน ครั้งที่ 4/2557 ในวันที่ 29 สิงหาคม 2557
ประเภท ข 1.2. มีการกำหนดบทบาทหน้าที่ให้คณะกรรมการ ประเภท ข 1.2. มีการกำหนดบทบาทหน้าที่ให้คณะกรรมการ - รายงานการประชุมครั้งที่ 1/2557 ในวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2557 1.บริหารจัดการกองทุนให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน 2. รับผิดชอบการรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีเงินหรือทรัพย์สินของกองทุน 3. ดำเนินการให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ ได้เข้าถึงบริการสาธารณสุขอย่างทั่วถึงทั้งหมู่บ้าน 4.จัดทำข้อมูลและแผนดำเนินงานที่เกี่ยวกับปัญหาสาธารณสุขกลุ่มเป้าหมายและหน่วยบริการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง 5.จัดทำสรุปผลการดำเนินงานรายงานการรับจ่ายและเงินคงเหลือของกองทุนเมื่อสิ้นปีงบประมาณเสนอ สปสช.และอบต.ภายในเดือนธันวาคมของทุกปี 6. แต่งตั้งคณะอนุกรรมการหรือคณะทำงาน เพื่อดำเนินงานที่เกี่ยวข้องได้ตามความจำเป็น
ประเภท ข 1.3.มีการประชุมอย่างต่อเนื่องอย่างน้อยปีละ 4 ครั้ง ประเภท ข 1.3.มีการประชุมอย่างต่อเนื่องอย่างน้อยปีละ 4 ครั้ง คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลวังหิน มีการประชุมปี 2557 มีการประชุม 5 ครั้ง
มีการบันทึกรายงานการประชุมทุกครั้ง ประเภท ข 1.4. มีการบันทึกรายงานการประชุมทุกครั้ง - ครั้งแรก/2557 24 กุมภาพันธ์ 2557 -ครั้งที่ 1/ 2557 ครั้งที่ 2/2557 17 มีนาคม 2557 ครั้งที่ 3/2557 25 กรกฎาคม 2557 ครั้งที่ 4/2557 29 สิงหาคม 2557 มีการบันทึกรายงานการประชุมทุกครั้ง
ประเภท ข 1.5.ที่ปรึกษากองทุนเข้าร่วมประชุมอย่างน้อย 2 ครั้ง ต่อปี มีตัวแทนที่ปรึกษาเข้าร่วมประชุม มี 3 ครั้ง (ครั้งที่ 1/2557 24 ก.พ.57) (ครั้งที่ 3/2557 25 ก.ค.57) (ครั้งที่ 4/2557 29 ส.ค.57) 1. นายวรจิตร หนองแก สาธารณสุขอำเภอหนองสองห้อง 2. นางนริศรา นิลละออง ตัวแทนผู้อำนวยการโรงพยาบาลหนองสองห้อง 3. นายบุญเลิศ นิลละออง ตัวแทนสาธารณสุขอำเภอหนองสองห้อง
2.1 มีการประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อ www.kk-wanghin.go.th ประเภท ข ข้อ 2 การสร้างการรับรู้ ความเข้าใจ และความสนใจของชุมชนต่อบทบาทภารกิจและผลงานของกองทุน 2.1 มีการประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อ www.kk-wanghin.go.th เว็ปไซต์ ของ อบต.วังหิน แผ่นพับประชาสัมพันธ์ 3. การประชาสัมพันธ์โครงการฯ
2.2 มีการประชาสัมพันธ์ผลการดำเนินงานของกองทุนก่อนดำเนินโครงการทุกครั้ง ข้อ 2 การสร้างการรับรู้ ความเข้าใจ และความสนใจของชุมชนต่อบทบาทภารกิจและผลงานของกองทุน 2.2 มีการประชาสัมพันธ์ผลการดำเนินงานของกองทุนก่อนดำเนินโครงการทุกครั้ง การประชาสัมพันธ์แผนงานโครงการฯ ของปี 2557
2.3 มีเวทีประชาคมเกี่ยวกับการดำเนินงานของกองทุน ข้อ 2 การสร้างการรับรู้ ความเข้าใจ และความสนใจของชุมชนต่อบทบาทภารกิจและผลงานของกองทุน 2.3 มีเวทีประชาคมเกี่ยวกับการดำเนินงานของกองทุน ออกประชาคมพร้อมกับการจัดทำแผนพัฒนา 3 ปี ของ อบต.วังหิน
2.4 มีการสำรวจความพึงพอใจและการรับรู้ข่าวสารต่อการดำเนินงานกองทุน ข้อ 2 การสร้างการรับรู้ ความเข้าใจ และความสนใจของชุมชนต่อบทบาทภารกิจและผลงานของกองทุน 2.4 มีการสำรวจความพึงพอใจและการรับรู้ข่าวสารต่อการดำเนินงานกองทุน มีการสรุปผลสำรวจความพึงพอใจ ของปี 2557 คิดเป็นร้อยละ 83.10 จากคน 50 คน
สมทบ 40 % ข้อ 3.1 การสมทบเงินเข้ากองทุน อปท.และประชาชน บัญชีธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (สาขาหนองสองห้อง) เลขที่บัญชี 01206-2-73750-0 ระบบหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น อบต.วังหิน เงินสมทบจาก สปสช. ปี 2557 194,895 x 40 % = 77,958 บาท สมทบ 40 %
บัญชีธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (สาขาหนองสองห้อง) ข้อ 3.2 การสมทบจากภาคประชาชน บัญชีธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (สาขาหนองสองห้อง) เลขที่บัญชี 01206-2-73750-0 ระบบหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น อบต.วังหิน - เงินสมทบจากภาคประชาชน จำนวน 460 + 542 = 1,002 บาท
ค. การสร้างนวัตกรรม ข้อ 1 มีนวัตกรรมสุขภาพชุมชนที่สามารถแก้ไขปัญหาสุขภาพหรือสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนอย่างเป็นรูปธรรม คือ ที่ทำให้ประชาชนในพื้นที่ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จากเดิมที่มีแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ปรับเปลี่ยนเป็นการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ และส่งเสริมให้ประชาชนได้มีธนาคารปลากินลูกน้ำทุกหมู่บ้าน โครงการหมู่บ้านปลอดลูกน้ำยุงลายโดยวิธีการทางชีวภาพและกายภาพ แบบชุมชนมีส่วนร่วม โดย เน้นไปที่ธนาคารปลากินลูกน้ำยุงลาย ครอบคลุมทุกหมู่บ้าน
โครงการหมู่บ้านปลอดลูกน้ำยุงลายโดยวิธีการทางชีวภาพและกายภาพ แบบชุมชนมีส่วนร่วม โดย เน้นไปที่ธนาคารปลากินลูกน้ำยุงลาย ครอบคลุมทุกหมู่บ้าน เดิม แหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย
โครงการหมู่บ้านปลอดลูกน้ำยุงลายโดยวิธีการทางชีวภาพและกายภาพ แบบชุมชนมีส่วนร่วม โดย เน้นไปที่ ธนาคารปลากินลูกน้ำยุงลาย ครอบคลุมทุกหมู่บ้าน ทำลาย แหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม คือ การส่งเสริมเลี้ยงปลากินลูกน้ำอย่างเห็นเด่นชัด โครงการหมู่บ้านปลอดลูกน้ำยุงลายโดยวิธีทางชีวภาพและกายภาพแบบชุมชนมีส่วนร่วม ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม คือ การส่งเสริมเลี้ยงปลากินลูกน้ำอย่างเห็นเด่นชัด ทุกหมู่บ้าน
จบการนำเสนอ