นโยบายกรมอนามัย : โครงการพัฒนาโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การจัดทำโครงการเฉลิมพระเกียรติ
Advertisements

ตำบลนมแม่ โมเดลการพัฒนาเด็กแบบองค์รวม
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
เป้าหมายการบริการ กรมอนามัย ปี 2548
C P L F KPI 1 เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 80 ครอบครัว เด็ก แม่
การขับเคลื่อนองค์กรไร้พุง
เล่าเรื่อง หัวใจแห่งความสำเร็จ การส่งเสริมสุขภาพ
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”
ผลงาน กองทันตสาธารณสุข (ตุลาคม2548 – กรกฎาคม2549)
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
นโยบายและทิศทาง การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ เด็กวัยเรียนและเยาวชน
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
โครงการหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
โดย นายแพทย์วุฒิไกร มุ่งหมาย นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร
องค์ประกอบที่4การจัดการสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนที่เอื้อต่อสุขภาพ
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
แนะนำคู่มืออบรมหลักสูตร
ผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 1
กรมอนามัย ในบทบาทโครงการ
35 ปี ที่ทรงงาน ทฤษฎีใหม่ในการ “สร้างคน สร้างชาติ” ค้นพบ.
แนวทางการดำเนินงาน วัยเรียน กรมสุขภาพจิต
จุดประกายการพัฒนาศักยภาพโรงเรียนเด็กไทยแก้มสและบนบาทของทีมวิทยากรระดับเขต วันที่ 5 มกราคม 2557 โรงแรมเอเชีย แอร์พอร์ท โดย สง่า ดามาพงษ์
สถานการณ์การดำเนินงานปี 2557 และ ทิศทางการดำเนินงานปี 2558
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
  โครงการและกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามราชกุมารี
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ จังหวัดอุบลราชธานี นางปริญญา ผกานนท์ นักวิชาการสาธารณสุข 8 ว.
โปรแกรมเฝ้าระวัง การเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0-18 ปี
ชี้แจงหลักเกณฑ์การโอนเงิน ระเบียบการเบิก-จ่ายงบประมาณ
แผนงาน พัฒนาศักยภาพเครือข่าย เพื่อการขับเคลื่อนงาน อาหารและโภชนาการเชิง รุก โดย นายสง่า ดามาพงษ์ นักวิชาการสาธารณสุข ระดับ 9 กรมอนามัย.
เป้าประสงค์ มีระบบและกลไกการบริหารจัดการที่ดีด้านอาหารและโภชนาการในระดับท้องถิ่น เกิดศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก บ้านรับเลี้ยงเด็ก โรงเรียน และชุมชนที่พึงประสงค์ด้านโภชนาการ.
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
โรคอาหารเป็นพิษ วันที่ 26 – 27 พฤศจิกายน 2557 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สำนักโรคติดต่อทั่วไป.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นโยบายกรมอนามัย : โครงการพัฒนาโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส นโยบายกรมอนามัย : โครงการพัฒนาโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส นายแพทย์ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย วันที่ 2 มีนาคม 2558 ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี

วัตถุประสงค์โครงการฯ เพื่อเจริญรอยตามพระยุคลบาท สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โดยการน้อมนำรูปแบบที่ดี “ด้านการจัดการอาหาร โภชนาการและสุขภาพนักเรียนอย่างครบวงจร ในโครงการพระราชดำริฯ” มาปฏิบัติและพัฒนาโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส

วิสัยทัศน์ของโครงการฯ ภายในปี 2560 เด็กทุกคนในโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ มีความรู้ ทักษะ และพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ พัฒนาตนเองสู่การมีโภชนาการสมวัย และสุขภาพดี

เป้าหมายแก้มใส ใช้อาหารและโภชนาการเป็นสะพานเชื่อม สู่มติอื่นเพื่อการพัฒนาคุณภาพคนในชาติ Healthy Food, Healthy Kids

แนวคิดแก้มใส ระดมทรัพยากรและทุนทางสังคมมาช่วยกัน ปลูกต้นกล้าของแผ่นดิน ระดมทรัพยากรและทุนทางสังคมมาช่วยกัน ปลูกต้นกล้าของแผ่นดิน คนในชุมชนมีความเป็นเจ้าของและ ขับเคลื่อนงานอย่างมีความสุข ตัวชี้วัดสุดท้ายคือ ได้คนไทยมีคุณภาพและ ศักยภาพในการสร้างชาติ Healthy Food, Healthy Kids

8 องค์ประกอบ หัวใจการขับเคลื่อนงาน สร้างการมีส่วนร่วม “เชื่อมโยง บูรณาการ” ขับเคลื่อนงานแบบองค์รวม

ปี 2558 เน้นบูรณาการกิจกรรมที่ 1 – 4 , 8 5. การพัฒนาสุขนิสัย และการส่งเสริมสุขภาพ อนามัยนักเรียน นิสัยการกิน สุขนิสัยที่ดี ออกกำลังกาย การติดตามภาวะโภชนาการ สมรรถภาพทางกายและสุขภาพนักเรียน -ฐานข้อมูล, แปลผล, ใช้ข้อมูลในการพัฒนางาน 3. การจัดบริการอาหาร ตามหลักโภชนาการ,ตามหลักสุขาภิบาล อาหารปลอดภัย,ใช้เกลือไอโอดีน การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน อาคารเรียน บริเวณโรงเรียน โรงอาหาร โรงครัว ห้องน้ำ ฯลฯ มีโภชนาการสมวัย สุขภาพดี ผลการเรียนดี มีจิตสาธารณะ จัดบริการสุขภาพนักเรียน -ตรวจความสะอาดร่างกาย -ปฐมพยาบาล -หนอนพยาธิและ มาลาเรีย 1. เกษตรในโรงเรียน -ปลูกพืชผัก ผลไม้ เพาะเห็ด -เลี้ยงสัตว์, ประมง ฯลฯ 2. สหกรณ์นักเรียน -สหกรณ์ร้านค้า -ออมทรัพย์ การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ เกษตร โภชนาการ และสุขภาพ -เกษตรผสมผสาน, สหกรณ์ -สุขบัญญัติ, โภชนบัญญัติ -สุขาภิบาลอาหาร, ออกกำลังกาย ขยายผลสู่ชุมชน

กิจกรรมสำคัญ ปีที่ 1 (57-58) : 1. กำหนดยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนงาน (มิ.ย.- ก.ค.57) 2. พัฒนาชุดความรู้ สื่อ นวัตกรรมและหลักสูตรอบรม (พ.ค.- ต.ค.57) 3. รับสมัคร คัดเลือก และแจ้งผลโรงเรียน (ก.ค.- ส.ค.57) 5. พัฒนาศักยภาพ บุคลากร (Training for the Trainer) - ทีมวิทยากรจังหวัด-เขต (5-7 ม.ค.) - โรงเรียน 546 แห่ง (ก.พ.-เม.ย.58) 4.ร่วมกับ สสส./ศธ.จัดเวที Policy advocacy : เปิดตัวโครงการ/โรงเรียน/ศอ.-จังหวัด ทำข้อเสนอขอรับทุน (ต.ค.57 -มี.ค.58) 6. โรงเรียนพัฒนางานตามกิจกรรมที่เลือก เพื่อพัฒนาสู่โรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส (ธ.ค. 57 – ก.ย. 58) 8. ร่วมกับ สสส./ศธ.จัดเวทีวิชาการ /ขยายผล/ขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ (เม.ย.-ก.ย.58) 7. นิเทศ ติดตาม และ ประเมินผลแบบเสริมพลัง (ม.ค. – ก.ย.58)

จำนวนโรงเรียนที่รับทุนโครงการฯ ปีที่ 1 หน่วยงานที่รับผิดชอบ จำนวนจังหวัดที่ส่งโครงการ จำนวนโรงเรียนทั้งหมด จำนวนโรงเรียนจำแนกตามสังกัด สพฐ. เทศบาล + อบต. เอกชน กทม. 1 9 - ศูนย์อนามัยที่ 1 4 20 18 ศูนย์อนามัยที่ 2 3 10 ศูนย์อนามัยที่ 3 7 46 41 2 ศูนย์อนามัยที่ 4 24 22 ศูนย์อนามัยที่ 5 74 71 ศูนย์อนามัยที่ 6 8 35 31 ศูนย์อนามัยที่ 7 6 84 76 ศูนย์อนามัยที่ 8 5 21 ศูนย์อนามัยที่ 9 ศูนย์อนามัยที่ 10 75 60 12 ศูนย์อนามัยที่ 11 53 49 ศูนย์อนามัยที่ 12 43 รวม 72 546 480 42 15

โครงการเด็กไทยแก้มใส งบประมาณสนับสนุน โรงเรียนละ 60,000 บาท โครงการเด็กไทยแก้มใส สพฐ. ผู้รับผิดชอบ : นายสง่า ดามาพงษ์ ผู้รับผิดชอบ : นางอัจฉราภรณ์ 196 โรงเรียน 194 โรงเรียน 352 โรงเรียน (โครงการปรับแก้เล็กน้อย) โอนผ่านบัญชีธนาคาร อปท. 42 ร.ร. สช. 15 ร.ร. กทม 9 ร.ร. แบ่งโควตาจาก สพฐ. 128 ร.ร. โอนด้วยระบบเบิกจ่ายเงินผ่าน GFMIS

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา งบประมาณสนับสนุน : ศูนย์อนามัย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ในระบบ GFMIS ศูนย์อนามัยที่ 1 – 12 (+ งบนิเทศ 62 จังหวัดที่มีโรงเรียน < 15 โรเรียน = 320 โรเรียน) กรมอนามัย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด (10 จังหวัดที่มีโรงเรียน >= 15 โรงเรียน = 220 โรงเรียน) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา (สพป.ละ 1,500 บาท/โรงเรียน) สพฐ.

รายชื่อ 10 จังหวัดที่มีโรงเรียนมากกว่า 15 โรงเรียน จังหวัดบุรีรัมย์ = 27 โรงเรียน จังหวัดสุรืนทร์ = 24 โรงเรียน จังหวัดศรีสะเกษ = 47 โรงเรียน จังหวัดอุบลราชธานี = 19 โรงเรียน จังหวัดตาก = 22 โรงเรียน จังหวัดเชียงใหม่ = 22 โรงเรียน จังหวัดลำปาง = 20 โรงเรียน จังหวัดนครศรีธรรมราช= 15 โรงเรียน จังหวัดตรัง = 16 โรงเรียน จังหวัดสงขลา = 16 โรงเรียน รวม = 228 โรงเรียน

งบประมาณสนับสนุน โอนผ่านระบบ GFMIS ศูนย์อนามัยที่ 1 – 12 = งบอบรม ศูนย์ๆละ 9,000 บาท/โรงเรียน (ภายใน เม.ย.58) = งบนิเทศ ติดตาม ศูนย์ละ 2,000 บาท/โรงเรียน (พ.ค. – ก.ย. 58) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด (จัดสรรโดย กรมอนามัย) = งบนิเทศติดตามงาน จังหวัดะ 1,500 บาท/รร. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา (จัดสรรโดย สพฐ.) = งบนิเทศติดตามงาน สพป.ละ 1,500 บาท/รร. หมายเหตุ : ศูนย์อนามัย และสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด จัดทำโครงการฯขอรับการสนับสนุนจากกรมอนามัย

งบประมาณกรมอนามัย สนับสนุน ศอ. – สสจ. (6,828,000 บาท) รวม 546 หน่วยงานที่รับผิดชอบ จำนวนโรงเรียนทั้งหมด งบ ศอ. อบรมโรงเรียน นิเทศงาน งบนิเทศ ศอ.สนับสนุนจังหวัด <15 ร.ร. งบนิเทศ ส่วนกลาง โอนให้จังหวัด >=15 ร.ร. กทม. 9 81,000 18,000 13,500 ศูนย์อนามัยที่ 1 20 180,000 40,000 30,000 ศูนย์อนามัยที่ 2 10 90,000 20,000 15,000 ศูนย์อนามัยที่ 3 46 414,000 92,000 69,000 ศูนย์อนามัยที่ 4 24 216,000 48,000 36,000 ศูนย์อนามัยที่ 5 74 666,000 148,000 34,500 76,500 ศูนย์อนามัยที่ 6 35 315,000 70,000 52,500 ศูนย์อนามัยที่ 7 84 756,000 168,000 27,000 99,000 ศูนย์อนามัยที่ 8 21 189,000 42,000 31,500 ศูนย์อนามัยที่ 9 33,000 ศูนย์อนามัยที่ 10 75 675,000 150,000 49,500 63,000 ศูนย์อนามัยที่ 11 53 477,000 106,000 57,000 22,500 ศูนย์อนามัยที่ 12 49 441,000 98,000 28,500 รวม 546 4,914,000 1,092,000 480,000 342,000

การดำเนินงานในระดับเขต - จังหวัด สร้างทีมเด็กไทยแก้มใส จัดเวที วิเคราะห์สถานการณ์และ Training Needs โรงเรียนเด็กไทยแก้มใส จัดทำแผนพัฒนาบุคลากรที่สอดคล้องกับ Training Needs จัดอบรมโรงเรียนแก้มใส ส่งเสริม สนับสนุน ให้คำปรึกษาในการพัฒนาโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส 6. นิเทศ ติดตาม และประเมินผลแบบเสริมพลัง 7. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ / ถอดบทเรียน และจัดทำแผนพัฒนางาน สื่อสารสาธารณะ พัฒนาฐานข้อมูลและระบบรายงาน จัดทำรายงานความก้าวหน้าเสนอผู้บริหาร ระดับจังหวัด เขต และส่วนกลาง

สนับสนุนสื่อ นวัตกรรม สำหรับวิทยากร - โรงเรียน คู่มือนักวิชาการ ระดับจังหวัด - เขต คู่มือสหกรณ์นักเรียน คู่มือเกษตร คู่มือจัดทำบัญชี คู่มือผู้บริหาร ชุดเรียนรู้ฯ Thai School Lunch สถาบันโภชนาการ คู่การจัดบริการอาหาร โปรแกรมติดตามการเจริญเติบโตฯ กรมอนามัย

นโยบายกรมอนามัย ปี 2558 : การพัฒนาโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส นโยบายกรมอนามัย ปี 2558 : การพัฒนาโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส ส่งเสริม สนับสนุนโรงเรียนน้อมนำรูปแบบที่ดีด้านอาหาร โภชนาการ และสุขภาพสู่การปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง โดยแบบบูรณาการและเชื่อมโยงกิจกรรมสำคัญ อย่างน้อย 5 กิจกรรม จาก 8 กิจกรรมตามโครงการพระราชดำริ ได้แก่ เกษตรในโรงเรียน สหกรณ์นักเรียน การจัดบริการอาหาร การเฝ้าระวัง ติดตาม ภาวะโภชนาการ และการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการทั้งใน-นอกห้องเรียน

2. ส่งเสริม สนับสนุนให้นักเรียนทุกคนที่ร่วมโครงการฯ ได้รับบริการสุขภาพตามมาตรฐาน ดังนี้ ได้รับการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง เพื่อคัดกรองกลุ่มเสี่ยงด้านภาวะอ้วน ผอม และเตี้ย เพื่อเข้ารับการแก้ไข โดยเฉพาะเด็กที่มีภาวะอ้วนและมีโรคประจำตัวได้รับการส่งต่อเข้า คลินิก DPAC เพื่อรักษาและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ได้รับประทานยาน้ำ/ยาเม็ดเสริมธาตุเหล็ก ตามชุดสิทธิประโยชน์ เพื่อควบคุมและป้องกันภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก 3) ได้กินอาหารกลางวันอิ่มอย่างมีคุณภาพตามมาตรฐานโภชนาการ สุขาภิบาลอาหาร และ อาหารปลอดภัยทุกวัน ได้รับการทดสอบสมรรถภาพทางกาย และมีการส่งเสริมการออกกำลังกายสัปดาห์ละ 3 วันๆละ 60 นาที 5) ได้รับการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ด้านอาหาร โภชนาการ และสุขภาพ ทั้งในและนอกห้องเรียน เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้เหมาะสมตามวัย

3. เปิดโอกาสให้ครอบครัว ชุมชน มีส่วนร่วม เป็นเจ้าของในการพัฒนาโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส โดยเน้นการใช้ทรัพยากรท้องถิ่นและปราชญ์ชาวบ้านในการพัฒนาสู่ความสำเร็จ และสร้างนวัตกรรมครอบครัว ชุมชน และโรงเรียน 4. พัฒนาศักยภาพหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในระดับพื้นที่ให้มีความสามารถในการพัฒนาโรงเรียนต้นแบบแก้มใส ตลอดจนผลักดันให้มีการบรรจุเรื่องโครงการแก้มใสอยู่ในแผนชุมชนและแผนพัฒนาท้องถิ่น ระยะ 1 ปี และ 3 ปี

5. ให้ศูนย์อนามัยเป็นแกนหลักในการขับเคลื่อนโครงการพัฒนาโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส โดยทำหน้าที่เชื่อมประสานกับภาคีเครือข่ายเจ้าภาพร่วม ได้แก่ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สำนักงานเกษตรจังหวัด สำนักงานสหกรณ์จังหวัด ฯลฯ เพื่อร่วมดำเนินงาน ดังนี้ 1) จัดตั้งทีมสหวิชาชีพให้คำปรึกษาทางวิชาการแก่โรงเรียน 2) พัฒนาระบบการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลแบบเสริมพลังเพื่อให้เกิดแรงจูงใจในการพัฒนางานที่เชื่อมโยงกันทั้ง 8 กิจกรรม โดยใช้ทรัพยากรท้องถิ่นอย่างคุ้มค่า 3) มีฐานข้อมูลด้านการจัดการอาหาร โภชนาการ และสุขภาพ ที่สามารถใช้ประโยชน์ร่วมกันได้ทุกหน่วยงาน ในทุกระดับ 4) มีระบบการรายงานผลการดำเนินงานที่เป็นปัจจุบัน ไม่ซ้ำซ้อน และลดภาระของโรงเรียน

เส้นทางสู่ดวงดาว เด็กไทย แก้มใส โรงเรียน ผู้สร้าง แก้มใส ประวัติศาสตร์ ต้นแบบ สร้าง สนับสนุน เสริมพลัง ผู้สร้าง ประวัติศาสตร์ สร้าง ผู้หว่าน ถอด บทเรียน เพียร ขยาย โรงเรียน แก้มใส ทั่วราชอาณาจักร เวทีแห่ง เกียรติยศ และ ความภาคภูมิ ฝ่าฟัน เด็กไทย แก้มใส

ตัวชี้วัดผลสำเร็จของโครงการเด็กไทยแก้มใส ปี 58 - 60 ตัวชี้วัดผลสำเร็จของโครงการเด็กไทยแก้มใส ปี 58 - 60 ตัวชี้วัดผลลัพธ์ ค่าเป้าหมาย ภาวะโภชนาการนักเรียน 1.1 ร้อยละของเด็กนักเรียนที่มีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน (นักเรียนที่มีน้ำหนักต่อส่วนสูงเกินเกณฑ์มาตรฐาน : มากกว่าหรือเท่ากับ +2 S.D.ขึ้นไป) 1.1 ไม่เกินร้อยละ 10 หรือลดลง อย่างน้อยร้อยละ 0.5 ต่อปี เมื่อเทียบกับถานการณ์เดิมของโรงเรียน 1.2 ร้อยละของเด็กนักเรียนที่มีภาวะผอม (เด็กนักเรียนที่มีน้ำหนักต่อส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน : น้อยกว่าหรือเท่ากับ -2 S.D.) 1.2 ไม่เกินร้อยละ 7 หรือลดลงอย่างน้อยร้อยละ 0.5 ต่อปีเมื่อเทียบกับสถานการณ์เดิมของโรงเรียน 1.3 ร้อยละของเด็กนักเรียนที่มีภาวะเตี้ย (เด็กนักเรียนที่มีส่วนสูงต่ออายุต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน : น้อยกว่าหรือเท่ากับ -2 S.D.) 1.3 ไม่เกินร้อยละ 5 หรือลดลงอย่างน้อยร้อยละ 0.5 ต่อปี เมื่อเทียบกับสถานการณ์เดิมของโรงเรียน

2. สมรรถภาพทางกาย 3. ภาวะฟันผุ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ ค่าเป้าหมาย - ร้อยละของเด็กนักเรียนที่มีสมรรถภาพทางกายเหมาะสมตามวัยใน 3 ด้าน คือ การไหลเวียนเลือด ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ และความอ่อนตัว ร้อยละ 70 3. ภาวะฟันผุ 3.1 ร้อยละของเด็กนักเรียนที่เป็น โรคฟันผุ ลดลงไม่น้อยกว่าร้อยละ 1 ต่อปีหรือไม่เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับสถานการณ์เดิมของ ร.ร.

สวัสดี